สิ่งที่ปรากฏข้างหน้า...เขาหัวโล้นที่ปรากฏเด่นชัด...ป่าต้นน้ำหายไปไหนเป็นคำถามที่ผุดขึ้นในสมอง

The prominent feature ahead is a mountain with very few remaining trees. Where has the vanished watershed forest gone?

อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    หยดน้ำไหลออกมาจากรากต้นไม้ ทางน้ำเล็กๆ ซากใบไม้ทับถมและซับน้ำ กรองน้ำส่งลงพื้นราบ

    Fallen leaves, which absorb and filter water into the flat plains covered droplets cascade from tree roots and small waterways.

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  ประเทศไทยอยู่ในกลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ระหว่างละติจูดที่ 5 ถึง 12 องศาเหนือ และลองจิจูด 97 ถึง 106 องศาตะวันออก มีเนื้อที่ประมาณ 513115 ตารางกิโลเมตร

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • พื้นผิวของประเทศไทย เมื่อแบ่งตามธรณีสัณฐานจะแบ่งได้ 8 ภูมิภาค

    อ่านเพิ่มเติม...
  • อากาศที่เคลื่อนที่จากบริเวณหนึ่งไปยังอีกบริเวณหนึ่งซึ่งเกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิ ความกดอากาศของ 2 พื้นที่ 

    Wind is the movement of air from one area to another, resulting from temperature differences and air pressure variances between the two regions.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ฤดูกาลของประเทศไทย: ปัจจัยเบื้องหลังสามฤดูกาลของประเทศไทย – ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว

    Thailand season: The factor behind the three seasons of Thailand – summer, rainy and winter seasons

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ปัจจัยที่ทําให้เกิดภัยพิบัติดินถล่ม ได้แก่ ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะทางธรณีวิทยาและปฐพีวิทยา ลักษณะการใช้ที่ดิน และลักษณะสภาพภูมิอากาศ

    The factors that cause landslide disasters are topographical features, geological and soil characteristics, land use characteristics, and climate characteristics.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    จากสภาพปัญหาเรื่องการประสานสาธารณูปโภคจึงเกิดโครงการทดลองที่นำเอาระบบ GIS มาเป็นเครื่องมือจัดสร้างฐานข้อมูลร่วมกันเพื่อการทำงานร่วมกัน

    อ่านเพิ่มเติม...
ดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งาน
 

งานแผนที่ในระบบ GIS ความคลาดเคลื่อนตลอดกาล 

แผนที่เป็นตัวแทนของข้อมูลเชิงพื้นที่ที่ถูกจัดเก็บไว้ในระบบ GIS ในขบวนการของระบบ GIS ที่ มีการใช้งานแผนที่ ประกอบด้วยขบวนการได้มาของข้อมูล การประมวลผล การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงพื้นที่ ในขบวนการที่เกี่ยวข้องกับการประมวลผลด้วยสมการหรือสูตรทางคณิตศาสตร์ตาม Algorithms ที่กำหนดไว้ ย่อมมีโอกาสที่จะเกิดความคลาดเคลื่อนเสมอ ผู้ใช้ระบบ GIS จึงจำเป็นต้องตระหนักและรับรู้ค่าความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้น ทั้งนี้เพื่อที่จะเข้าใจว่าผลลัพธ์ที่ได้จากระบบ GIS มีความคลาดเคลื่อนในระดับของการยอมรับได้ สำหรับการนำไปประกอบการปฏิบัติงานหรือตัดสินใจได้หรือไม่ระดับใด

จากพื้นฐานแนวคิดทางภูมิศาสตร์สู่ระบบ GIS

                  ระบบ GIS มี การพัฒนามาจากพื้นฐานแนวคิดทางภูมิศาสตร์ เนื่องจากภูมิศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่มีมุมมองเพื่อศึกษาทางพื้นที่โดยการผสมผสานแนวความคิด กระบวนการจัดการ กระบวนการการกระจายตัวทางพื้นที่ วิวัฒนาการทางกายภาพ ชีวภาพและวัฒนธรรม รวมทั้งปฏิสัมพันธ์และการจัดระเบียบทางพื้นที่เพื่อมุ่งหาสาเหตุที่เกิดและ การจัดการปรากฏการณ์บนพื้นโลกอีกด้วย

                 ในทางภูมิศาสตร์ ถ้าจะอธิบายความหมายของคำว่า GIS หรือ Geographic Information System แล้ว David Martin ได้แยกอธิบายคำว่า GIS ไว้อย่างชัดเจนว่า

          Geographic เป็น ส่วนของภาพที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ของข้อมูลที่อ้างถึงตำแหน่งบนพื้น โลกซึ่งมีการวัดหรือการคำนวณทางด้านพิกัดทางภูมิศาสตร์โดยเทียบเป็นมาตรา ส่วน

          Information เป็น ส่วนของการใช้ระบบถามคำถามหรือค้นหาคำตอบจากฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์ สารสนเทศที่ได้จะแสดงสภาพภูมิศาสตร์บนพื้นโลก ซึ่งนำมาแสดงในรูปของข้อมูลที่หลากหลาย ข้อมูลเหล่านั้นจะถูกนำมารวบรวมจัดการในลักษณะของรูปจำลองที่เกิดขึ้นบนพื้น โลก

          System เป็นองค์ประกอบที่นำมาจัดการค้นหาคำตอบที่ต้องการรู้ ซึ่ง GIS ไม่ จำเป็นต้องเป็นระบบอัตโนมัติเท่านั้น ในองค์ประกอบเหล่านั้นควรจะผสมผสานกันระหว่างขบวนการนำเข้า จัดเก็บ จัดการและนำเสนอข้อมูลทางภูมิศาสตร์ แต่เนื่องจากระบบอัตโนมัติ ได้แก่ระบบคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว GIS จึงมีการพัฒนาให้เป็นระบบอัตโนมัติด้วยเช่นกัน

          โดยสรุประบบ GIS จะ เกี่ยวข้องกับข้อมูลที่อ้างถึงตำแหน่งที่อ้างอิงมาตราส่วนซึ่งแสดงในรูปของ แผนที่ และมีการจัดการให้อยู่ในรูปของฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์ โดยมีขบวนการการนำเข้า จัดเก็บ จัดการและนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบซึ่งปัจจุบันเป็นระบบอัตโมัติหรือเป็น เทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์นั้นเอง

Mitchell,Bruce ได้กล่าวถึงระบบ GIS ว่า เป็นรากฐานของการวางแผนภูมิภาคและการวางแผนจัดการทรัพยากร การผสมผสานการวิเคราะห์พื้นที่ ทางภูมิภาค เข้ากับการวิเคราะห์เชิงนิเวศน์วิทยา ในการวิเคราะห์ทางพื้นที่นักภูมิศาสตร์มักจะมีคำถามที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่  4 ประการคือ

1.      นักภูมิศาสตร์เกี่ยวข้องกับการจัดโครงสร้างทางกายภาพของพื้นที่อย่างไร

2.      มนุษย์มีความสัมพันธ์กับพื้นที่อย่างไร

3.      มนุษย์มีการจัดการสังคมของพวกเขาในพื้นที่อย่างไร

      4.      แนวคิดเชิงพื้นที่และการใช้ประโยชน์พื้นที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง

รายละเอียด

  •  

    หลังจากทดลองมาหลายรูปแบบหลายวิธีการเราจึงพบผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่ปลอดภัยกับครอบครัวซึ่งมีทั้งเด็กและคนชรา มีทั้งแชมพู น้ำยาล้างจาน และน้ำยาซักผ้า

    After experimenting with various formats and methods, we have identified a safe cleaning product suitable for families, catering to both children and older adults. The product range includes shampoo, dishwashing liquid, and laundry detergent.

    อ่านเพิ่มเติม...

  • ตามความหมายของแผนที่ แผนที่ประกอบด้วย 1) การถ่ายทอดลักษณะของพื้นผิวโลกลงสู่พื้นราบ 2) การย่อส่วน 3) สัญลักษณ์ การอ่านหรือบันทึกข้อมูลลงบนแผนที่จึงควรเข้าใจทั้ง 3 ส่วนหลักเป็นสำคัญ
    ดูคำอธิบายความหมายของแผนที่ได้ที่ https://www.youtube.com/watch?v=wCz3Qlwmd28&t=118s

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    อ่านค่าเส้นชั้นความสูงจากแผนที่กระดาษเป็น 3 มิติ เรื่องง่าย ๆ เด็กก็เข้าใจได้...สไตล์อณุศร

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • จัดเก็บข้อมูลภาคสนามด้วยแผนที่เพื่อจัดทำและนำเสนอข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จำเป็นต้องพิจารณากำหนดชนิดของคุณลักษณะข้อมูล (Feature Type)

    อ่านเพิ่มเติม...
  • การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ด้วยระบบ GIS สำหรับเมืองขนาดใหญ่ เนื้อหาการบรรยายจะเกี่ยวกับหลักการวิเคราะห์เบื้องต้น หลักการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ แนวคิดและเทคนิคการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ด้วยระบบ GIS

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • หลักการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ เนื้อหาการบรรยายจะเกี่ยวกับหลักการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ตามแนวคิดและเทคนิควิธีการทางภูมิศาสตร์ซึ่งมีมาตั้งแต่ดั่งเดิมจนมาถึงปัจจุบัน

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System) เป็นที่รู้จักแพร่หลายในปัจจุบัน ศาสตร์ที่เป็นรากฐานของ "ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์" คือ ภูมิศาสตร์หากพิจารณาแนวคิดของศาสตร์นี้จะพบว่ามีความสำคัญอย่างยิ่ง

    อ่านเพิ่มเติม...
  •   

    สิ่งที่ปรากฏข้างหน้า...เขาหัวโล้นที่ปรากฏเด่นชัด...ป่าต้นน้ำหายไปไหนเป็นคำถามที่ผุดขึ้นในสมอง

    The prominent feature ahead is a mountain with very few remaining trees. Where has the vanished watershed forest gone?

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    เมื่อนำเอาข้อมูลจำนวนประชากรและพื้นที่มามองในมุมของความหนาแน่นและการกระจายตัวของประชากรในจังหวัดเชียงใหม่

     

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

     เมื่อการเพิ่มขึ้น-ลดลงของประชากรในจังหวัดเชียงใหม่ในภาษานักประชากรศาสตร์ถูกอธิบายบนพื้นที่แบบนักภูมิศาสตร์

    อ่านเพิ่มเติม...

ผู้เยี่ยมชม GEO2GIS.com

วันนี้416
เมื่อวานนี้539
สัปดาห์นี้1989
เดือนนี้10288
ทั้งหมด1196497
สมาชิก log in ขณะนี้ 0
Online ขณะนี้ 1

JSN Epic is designed by JoomlaShine.com