ภัย พิบัติจากพายุ ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นทางตอนใต้ของประเทศเนื่องจากอยู่ใกล้ทะเล พายุที่ก่อให้เกิดความเสียหาย

อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    หยดน้ำไหลออกมาจากรากต้นไม้ ทางน้ำเล็กๆ ซากใบไม้ทับถมและซับน้ำ กรองน้ำส่งลงพื้นราบ

    Fallen leaves, which absorb and filter water into the flat plains covered droplets cascade from tree roots and small waterways.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • หลังจากเปลือกโลกยกตัวขึ้นก็เกิดขบวนการกัดเซาะของน้ำมีพัฒนาการแบ่งเป็น 3 ช่วงอายุ

    After the earth's crust uplifts, erosion processes occur, developing into three age stages.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • พื้นผิวของประเทศไทย เมื่อแบ่งตามธรณีสัณฐานจะแบ่งได้ 8 ภูมิภาค

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ฝนตกในวันที่ 9 และ 10 ธ.ค. 2566 ในวันที่ 11 ธ.ค. 2566 ไม่มีหมอก วันที่ 12 ธ.ค. 2566 ตอนเช้าอากาศเย็นเล็กน้อย ปรากฏมหมอกบาง ๆ รอบๆ บ้านภูมิ-เพียง แม่ริม เชียงใหม่

    Rain on December 9 and 10, 2023. December 11, 2023, no fog. On December 12, 2023, the morning was slightly cold. The fog appeared around the BaanPoomPiang Mae Rim Chiang Mai.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ปรากฏการณ์ เอลนีโญ – ลานิญา ถูกพูดถึงบ่อยและมากขึ้น ในฐานะนักภูมิศาสตร์คงต้องอธิบายเพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจอีกครั้ง

    The phenomenon of El Niño-La Niña is increasingly and frequently discussed. As a geographer, it is essential to provide explanations for better understanding once again.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ปัจจัยที่ทําให้เกิดภัยพิบัติดินถล่ม ได้แก่ ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะทางธรณีวิทยาและปฐพีวิทยา ลักษณะการใช้ที่ดิน และลักษณะสภาพภูมิอากาศ

    The factors that cause landslide disasters are topographical features, geological and soil characteristics, land use characteristics, and climate characteristics.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • โคลนถล่มที่ตำบลน้ำก้อ และอีกหลายพื้นที่ จนมาถึงการเกิดน้ำป่าทำความเสียหายให้กับปายและขุนน่าน ในเดือน สิงหาคม 2559 ...บทเรียนซ้ำ ๆ โมเดลเดิมๆ ช่างน่าเบื่อจังเลย 

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    เพื่อไม่ให้เนื้อหาที่เตรียมไปบรรยายประกอบการเรียน การสอนวิชา 154108 เสียของ จึงขอนำเอามาเขียนไว้ใน www.GEO2GIS.com โดยจะแบ่งเป็น 5 ตอน

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  หลากหลายความเห็นจากนักภูมิศาสตร์และการเตรียมพร้อมเพื่อเข้าพื้นที่

    อ่านเพิ่มเติม...

ให้เรตสมาชิก: 3 / 5

ดาวใช้งานดาวใช้งานดาวใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งาน
 

ความสำคัญของขนาดมาตราส่วนแผนที่

มาตราส่วนแผนที่คือการลดสัดส่วนของสภาพแวดล้อมในพื้นที่ที่ปรากฏบนโลกลงบนแผนที่หรือแผ่นราบ เช่น ถนนในพื้นที่ยาว 100 เมตร ลดสัดส่วนลงมา 1 เซนติเมตรในแผนที่ หมายถึงมาตราแผนที่เท่ากับ 1 : 10,000 โดยมาตราส่วนจะสัมพันธ์ในการทำ Generalization และ Symbolization ในแผนที่  

แผนที่มาตราส่วนใหญ่ (Large Scale) จะแสดงปรากฏการณ์ที่มีขนาดเล็กแสดงข้อมูลได้ละเอียด ส่วนแผนที่มาตราส่วนเล็ก (Small Scale) จะแสดงพื้นที่ได้ขนาดใหญ่แต่จะปรากฏรายละเอียดปรากฏการณ์ได้ไม่ละเอียดเท่าแผนที่มาตราส่วนใหญ่

ขนาดของมาตราส่วนเล็กหรือใหญ่จะกระทบต่อการแสดงสัญลักษณ์ (Symbolization) โดย Symbol จะได้หรือไม่ได้สัดส่วนจริงขึ้นอยู่กับขนาดของมาตราส่วนซึ่งจะปรากฏรายละเอียดปรากฏการณ์ได้ละเอียดไม่เท่ากัน นั้นคือการทำ Generalization

 

มาตราส่วนแผนที่

เล็ก

ใหญ่

แสดงพื้นที่สภาพแวดล้อม

พื้นที่กว้าง

พื้นที่เล็ก

รายละเอียดข้อมูลปรากฏการณ์

เล็ก

มากกว่า

Symbolization

Generalized มาก

Generalized น้อย

ตัวอย่างเปรียบเทียบระหว่างแผนที่กรุงเทพมหานครมาตราส่วน 1 : 100,000 กับ มาตราส่วน 1 : 10,000 พบว่า

แผนที่มาตราส่วน 1 : 100,000

แผนที่มาตราส่วน 1 : 10,000

 

-          แผนที่กรุงเทพมหานครมาตราส่วน 1 : 100,000 แสดงพื้นที่สภาพแวดล้อมได้พื้นที่กว้างกว่ามาตราส่วน 1 : 10,000 ในพื้นที่กระดาษแผ่นราบขนาดเท่ากัน

-          แผนที่กรุงเทพมหานครมาตราส่วน 1 : 100,000 แสดงรายละเอียดข้อมูลปรากฏการณ์ได้หยาบกว่ามาตราส่วน 1 : 10,000

-          แผนที่กรุงเทพมหานครมาตราส่วน 1 : 100,000 ทำการ Generalized หรือลดรายละเอียดมากกว่ามาตราส่วน 1 : 10,000

นั่นหมายความว่า การสื่อสารให้กับผู้ใช้แผนที่จะได้ครบถ้วนถูกต้องได้หรือไม่ขึ้นอยู่กับต้องการให้ผู้ใช้รับรู้แค่ไหน หรือต้องการนำไปใช้ประโยชน์อย่างไร เช่น กรณีข้างต้น แผนที่กรุงเทพมหานครมาตราส่วน 1 : 100,000 ต้องการให้ผู้ใช้รู้แค่เพียงมีเส้นทางด่วน แต่แผนที่กรุงเทพมหานครมาตราส่วน 1 : 10,000 ต้องการให้ผู้ใช้รู้ว่ามีทางด่วนขึ้นหรือลงที่ถนนหลานหลวงโดยมีเส้นทางขึ้นลงอย่างไรบ้าง

 

 

  •  

    หลังจากทดลองมาหลายรูปแบบหลายวิธีการเราจึงพบผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่ปลอดภัยกับครอบครัวซึ่งมีทั้งเด็กและคนชรา มีทั้งแชมพู น้ำยาล้างจาน และน้ำยาซักผ้า

    After experimenting with various formats and methods, we have identified a safe cleaning product suitable for families, catering to both children and older adults. The product range includes shampoo, dishwashing liquid, and laundry detergent.

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  ในอดีต แผนที่ผูกพันกับชีวิตประจำวันเฉพาะคนบางกลุ่มเท่านั้น ปัจจุบัน เมื่อมือถือ มีระบบแผนที่ออนไลน์ การอ่านและเข้าใจแผนที่จึงสร้างประโยชน์ในชีวิตประจำวันมากขึ้น และหากเข้าใจแผนที่มากขึ้น แน่นอนว่าแผนที่จะยิ่งสร้างประโยชน์มากยิ่งๆขึ้น 
    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    เมื่อโลกมีลักษณะเป็นทรงกลมคล้ายผลส้ม การทำแผนที่ซึ่งต้องเป็นแผ่นราบใช้พกพา การย่อส่วนและการใช้สัญลักษณ์แสดงสิ่งที่ปรากฏบนพื้นโลกซึ่งต้องการความถูกต้องใกล้เคียงทั้งทิศทาง ระยะทาง รูปร่างและพื้นที่เป็นสิ่งจำเป็นที่นักภูมิศาสตร์ต้องสร้างเส้นโครงแผนที่ขึ้นมา 

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ตั้งแต่เด็กจนแก่มนุษย์อยู่ภายใต้สภาพแวดล้อมรอบตัว การเหลียวหันไปมอง การไขว้คว้า การเคลื่อนที่ของมนุษย์ล้วนผ่านการจดจำว่ามีอะไร อยู่ที่ไหน อย่างไร ซึ่งเราเรียกมันว่า แผนที่ในใจ (Mental Map)

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ควรหรือที่จะสรุปว่า ภูมิสารสนเทศ (Geoinformatics, Geomatics) ประกอบด้วย เทคโนโลยีระบบกำหนดตำแหน่งบนพื้นโลก (Global Positioning System : GPS)  การรับรู้ระยะไกล (Remote Sensing) และ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ความจริงแล้ว...ระบบ GIS ในปัจจุบัน คือ แนวคิดการวิเคราะห์เชิงพื้นที่แบบโบราณของนักภูมิศาสตร์ ซึ่งต้องการการวิเคราะห์ ประมวลผลและพรรณนาข้อมูลเชิงตำแหน่ง ระยะทาง พื้นที่คู่กับข้อมูลเชิงปริมาณเสมอ

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • หลักการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ เนื้อหาการบรรยายจะเกี่ยวกับหลักการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ตามแนวคิดและเทคนิควิธีการทางภูมิศาสตร์ซึ่งมีมาตั้งแต่ดั่งเดิมจนมาถึงปัจจุบัน

    อ่านเพิ่มเติม...
  • นักท่องเที่ยว แรงงานต่างด้าว ในเมืองเชียงใหม่ 

    Travelers and foreign workers in the city of Chiang Mai.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    ประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปจะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ นับตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2550 ปี พ.ศ. 2555 จนกระทั้งปี พ.ศ. 2559

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •   

    สิ่งที่ปรากฏข้างหน้า...เขาหัวโล้นที่ปรากฏเด่นชัด...ป่าต้นน้ำหายไปไหนเป็นคำถามที่ผุดขึ้นในสมอง

    The prominent feature ahead is a mountain with very few remaining trees. Where has the vanished watershed forest gone?

    อ่านเพิ่มเติม...

ผู้เยี่ยมชม GEO2GIS.com

วันนี้245
เมื่อวานนี้497
สัปดาห์นี้2101
เดือนนี้3606
ทั้งหมด1432039
สมาชิก log in ขณะนี้ 0
Online ขณะนี้ 10

JSN Epic is designed by JoomlaShine.com