สาระภูมิศาสตร์

ธรณีสัณฐานประเทศไทยเป็นอย่างไร

พื้นผิวของประเทศไทย เมื่อแบ่งตามธรณีสัณฐานจะแบ่งได้ 8 ภูมิภาค

ภูมิศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่เป็นรากฐานให้ศาสตร์อื่นๆ เป็นศาสตร์ที่สามารถผสมผสานแนวคิดศาสตร์อื่นๆ มาแสดงเป็นปรากฏการณ์ทางพื้นที่ได้ นักภูมิศาสตร์ใช้เทคนิคการสังเกต การอธิบายภาพความจริง ศึกษาปรากฏการณ์ที่มีความแตกต่าง หลากหลายในมิติของพื้นที่

การวัดค่าในศาสตร์ของภูมิศาสตร์ 1

ภูมิศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่เป็นรากฐานให้ศาสตร์อื่นๆ เป็นศาสตร์ที่สามารถผสมผสานแนวคิดศาสตร์อื่นๆ มาแสดงเป็นปรากฏการณ์ทางพื้นที่ได้ นักภูมิศาสตร์ใช้เทคนิคการสังเกต การอธิบายภาพความจริง ศึกษาปรากฏการณ์ที่มีความแตกต่าง หลากหลายในมิติของพื้นที่ทั้งที่เป็นปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรม(เกิดจากมนุษย์) และปรากฏการณ์ทางกายภาพ(เกิดจากธรรมชาติ) ซึ่งข้อมูลปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์ (Geographic data) คือสิ่งที่สนใจและมีคุณลักษณะ (Feature) ที่นักภูมิศาสตร์ใช้อธิบายและวัดค่าทั้งทางตรงและทางอ้อม รูปแบบของปรากฏการณ์ที่มีมิติที่แตกต่างกัน 5 มิติ คือ

 

1. Point (Zero Dimensional)

 

2. Line (One Dimensional)

 

3. Area (Two Dimensional)

 

4.Volume (Three Dimensional)

 

5. Space-Time (Four Dimensional)

หน่วยวัดทางภูมิศาสตร์ จะมีทั้งค่าทางปริมาณและคุณภาพ ความแม่นยำจะมีทั้งที่เป็นค่าสมบูรณ์ (Absolute) และค่าเชิงสัมพันธ์ (Relative)

อ่าน การวัดค่าในศาสตร์ของภูมิศาสตร์ ๒ ที่ https://www.geo2gis.com/index.php/geography/240-measure-2

  • อากาศที่เคลื่อนที่จากบริเวณหนึ่งไปยังอีกบริเวณหนึ่งซึ่งเกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิ ความกดอากาศของ 2 พื้นที่ 

    Wind is the movement of air from one area to another, resulting from temperature differences and air pressure variances between the two regions.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ปัจจัยที่ทําให้เกิดภัยพิบัติดินถล่ม ได้แก่ ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะทางธรณีวิทยาและปฐพีวิทยา ลักษณะการใช้ที่ดิน และลักษณะสภาพภูมิอากาศ

    The factors that cause landslide disasters are topographical features, geological and soil characteristics, land use characteristics, and climate characteristics.

    อ่านเพิ่มเติม...
JSN Epic is designed by JoomlaShine.com