สาระภูมิศาสตร์

การเปลี่ยนแปลงเปลือกโลก

ตามทฤษฎี วัฏจักรของการกัดกร่อนของ วิลเลียม มอร์ริส เดวิส หลังจากเปลือกโลกยกตัวขึ้นก็เกิดขบวนการกัดเซาะของน้ำ

สารบัญ

การเคลื่อนตัวของอากาศที่เรียกว่าลมนั้น สามารถแบ่งประเภทได้ตามลักษณะการเกิด พื้นที่ที่เกิด และช่วงเวลาการเกิด ดังนี้

  1. ลมประจำเวลา (Diurnal Wind) หรือ ลมเฉื่อย (Breeze)   
  2. ลมประจำถิ่น (Local Wind)
  3. ลมประจำปี (Prevailing Wind)
  4. ลมประจำฤดู (Seasonal Wind)
  5. มแปรปรวนหรือลมพายุ (Storm) 

 

1. ลมประจำเวลา (Diurnal Wind) หรือ ลมเฉื่อย (Breeze) 

ป็นลมที่มักจะเกิดในบริเวณหนึ่งๆ ในช่วงเวลาต่างกันในรอบวัน คือ กลางวันและกลางคืน โดยจะเกิดบริเวณพื้นที่ที่ใกล้กันแต่มีลักษณะภูมิประเทศแตกต่างกัน ซึ่งในเวลากลางวันและกลางคืนอุณหภูมิระหว่างสองพื้นที่จะต่างกันด้วย ลมประจำเวลา ได้แก่ ลมบก-ลมทะเล  ลมหุบเขา-ลมภูเขา

  • การรู้เรื่องลมฟ้าอากาศ เป็นการเรียนรู้สภาพของอากาศในช่วงระยะเวลาหนึ่งซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตาม วัน เวลาและสถานที่ ส่วนการรู้เรื่องภูมิอากาศ ก็เป็นการเรียนรู้สภาพอากาศที่เกิดขึ้นเป็นประจำต่อเนื่อง

    Meteorology involves studying the ever-changing atmospheric conditions. In contrast, climatology focuses on studying long-term weather patterns.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ปัจจัยที่ทําให้เกิดภัยพิบัติดินถล่ม ได้แก่ ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะทางธรณีวิทยาและปฐพีวิทยา ลักษณะการใช้ที่ดิน และลักษณะสภาพภูมิอากาศ

    The factors that cause landslide disasters are topographical features, geological and soil characteristics, land use characteristics, and climate characteristics.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • จากบทความ พระราชดำรัสสมเด็จพระราชินี "แผนที่" ของในหลวงรัชกาลที่ 9 ใน www.posttoday.com เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2559 บางส่วน

     

    อ่านเพิ่มเติม...
JSN Epic is designed by JoomlaShine.com