ภัย พิบัติจากพายุ ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นทางตอนใต้ของประเทศเนื่องจากอยู่ใกล้ทะเล พายุที่ก่อให้เกิดความเสียหาย

อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    หยดน้ำไหลออกมาจากรากต้นไม้ ทางน้ำเล็กๆ ซากใบไม้ทับถมและซับน้ำ กรองน้ำส่งลงพื้นราบ

    Fallen leaves, which absorb and filter water into the flat plains covered droplets cascade from tree roots and small waterways.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ถ้าไม่มีป่า ก็ไม่มีน้ำ ถ้าไม่มีน้ำ ก็ไม่มีอาหาร เพราะป่า เป็นต้นน้ำ ต้นกำเนิดความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งอาหารและทรัพยากรอื่นๆ เราควรรู้และเข้าใจป่า 

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • หลังจากเปลือกโลกยกตัวขึ้นก็เกิดขบวนการกัดเซาะของน้ำมีพัฒนาการแบ่งเป็น 3 ช่วงอายุ

    After the earth's crust uplifts, erosion processes occur, developing into three age stages.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ปรากฏการณ์ เอลนีโญ – ลานิญา ถูกพูดถึงบ่อยและมากขึ้น ในฐานะนักภูมิศาสตร์คงต้องอธิบายเพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจอีกครั้ง

    The phenomenon of El Niño-La Niña is increasingly and frequently discussed. As a geographer, it is essential to provide explanations for better understanding once again.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ฝนตกในวันที่ 9 และ 10 ธ.ค. 2566 ในวันที่ 11 ธ.ค. 2566 ไม่มีหมอก วันที่ 12 ธ.ค. 2566 ตอนเช้าอากาศเย็นเล็กน้อย ปรากฏมหมอกบาง ๆ รอบๆ บ้านภูมิ-เพียง แม่ริม เชียงใหม่

    Rain on December 9 and 10, 2023. December 11, 2023, no fog. On December 12, 2023, the morning was slightly cold. The fog appeared around the BaanPoomPiang Mae Rim Chiang Mai.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • สำรับมนุษย์แล้ว ไฟเป็นทั้งเพื่อนและศัตรู ทาสและเจ้านาย  ไฟเป็นพลังธรรมชาติ ซึ่งได้ถูกมนุษย์นำมาใช้ประโยชน์

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ปัจจัยที่ทําให้เกิดภัยพิบัติดินถล่ม ได้แก่ ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะทางธรณีวิทยาและปฐพีวิทยา ลักษณะการใช้ที่ดิน และลักษณะสภาพภูมิอากาศ

    The factors that cause landslide disasters are topographical features, geological and soil characteristics, land use characteristics, and climate characteristics.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ภูมิศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่เป็นรากฐานให้ศาสตร์อื่นๆ เป็นศาสตร์ที่สามารถผสมผสานแนวคิดศาสตร์อื่นๆ มาแสดงเป็นปรากฏการณ์ทางพื้นที่ได้ นักภูมิศาสตร์ใช้เทคนิคการสังเกต การอธิบายภาพความจริง ศึกษาปรากฏการณ์ที่มีความแตกต่าง หลากหลายในมิติของพื้นที่

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • นักภูมิศาสตร์สมัยใหม่

     

    อ่านเพิ่มเติม...
ดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งาน
 

ลักษณะปรากฏการณ์กำหนดชนิดของข้อมูลและข้อเท็จจริง

หากนำระบบ GIS มานำเสนอปรากฏการณ์บนพื้นโลกในรูปแผนที่ เราต้องเข้าใจปรากฏการณ์ซึ่งจะนำไปสู่ลักษณะของข้อมูลที่จะนำเสนอเพื่อให้

- ผู้สร้างแผนที่สามารถออกแบบการนำเสนอข้อมูลให้ผู้ใช้เข้าใจ

- ผู้ใช้แผนที่สามารถเข้าใจและวิเคราะห์ปรากฏการณ์ต่อยอดได้

- ผู้รับบริการข้อมูลสุดท้ายจึงจะได้รับข้อเท็จจริงที่เป็น ข้อจริงมากกว่าข้อเท็จ  

ชนิดปรากฏการณ์ที่นำเสนอ ประกอบด้วย

1. ปรากฏการณ์ไม่ต่อเนื่องแบ่งแยกได้ชัดเจน

1.1 หากพิจารณาข้อมูลเชิงพื้นที่เราสามารถแบ่งแยกปรากฏการณ์เป็นส่วนๆ ได้ชัดเจน เช่น

ที่ตั้งที่ว่าการอำเภอแบ่งเป็นแต่ละตำแหน่ง ได้แก่ ที่ว่าการอำเภอร่อนพิบูลย์ ที่ว่าการอำเภอปากพนัง ที่ว่าการอำเภอเชียรใหญ่ ที่ว่าการอำเภอลานสกา เป็นต้น เช่นเดียวกับพื้นที่อำเภอซึ่งมีการกำหนดขอบเขตพื้นที่ชัดเจน

ถนนแบ่งเป็นเส้น ๆ ได้แก่ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 403 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 408 เป็นต้น

 

1.2 หากพิจารณาข้อมูลเชิงตัวเลขแล้วจะพบว่าเป็นข้อมูลเชิงปริมาณที่เป็นเลขจำนวนเต็มไม่มีทศนิยม เช่น จำนวนประชากร จำนวนโรงงาน จำนวนต้นไม้ ฯลฯ การนำเสนอเสนอในรูปกราฟจะชัดเจนเมื่อนำเสนอในรูปกราฟแท่ง

 

2. ปรากฏการณ์ที่ต่อเนื่อง เป็นปรากฏการณ์ที่ไม่มีช่องว่างหรือรอยต่อระหว่างการเป็นกลุ่ม ประเภทหรือ ลำดับของข้อมูลอย่างชัดเจน เช่น

 

2.1 หากพิจารณาข้อมูลเชิงพื้นที่เราจะแสดงโดยใช้ค่าส่วนใหญ่หรือค่าเฉลี่ย เช่น

 

ค่าฝุ่นละออกในบรรยากาศ ณ จุดตรวจวัดต่างๆ ถ้าได้ค่า PM10 ซึ่งหมายถึง ฝุ่นที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 10 ไมครอนลงมา แต่ไม่ได้ความอย่างนั้นจริงๆ เพราะ PM10 เป็นค่าเฉลี่ยของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน ซึ่ง ณ จุดตรวจวัดนั้นสามารถมีฝุ่นละอองขนาดเกิน 10 ไมครอนผสมอยู่ก็ได้

            เส้นชั้นความสูง ซึ่งเป็นเส้นที่ลากผ่านจุดที่ความสูงของภูมิประเทศที่เท่ากัน แต่ไม่ได้หมายความว่าทุกจุดบนเส้นนั้นมีความสูงตามค่านั้นจริงๆ เพราะค่าความสูงบนเส้นนั้นเกิดจากค่าเฉลี่ยโดยประมาณ เช่นเดียวกับข้อมูลพื้นที่ระดับความสูง ไม่ได้หมายความว่าทุกจุดบนพื้นที่นั้นจะมีค่าความสูงเท่ากัน และไม่ได้หมายความว่ารอยต่อของพื้นที่ที่เปลี่ยนค่าระดับความสูงจะเปลี่ยนค่าความสูงทันที จริงแล้วในภูมิประเทศจะค่อยๆเปลี่ยนค่าระดับความสูงเข้าหากัน

พื้นที่ขอบเขตชุดดิน ไม่ได้หมายความว่าในพื้นที่จริงจะแบ่งชุดดินตามรอยต่อนั้นจริงๆ เพราะข้อเท็จจริงจะค่อยๆเปลี่ยนแปลงและผสมผสานในองค์ประกอบของดินตามรอยต่อของประเภทชุดดินที่แยกประเภทกัน

      2.2  หากพิจารณาข้อมูลเชิงตัวเลขแล้วจะพบว่าเป็นข้อมูลเชิงปริมาณที่เป็นตัวเลขมีค่าทศนิยม เช่น ข้อมูลปริมาณฝน ข้อมูลอุณหภูมิ ฯลฯ ซึ่งสามารถนำมาสร้างโค้งการกระจายข้อมูลได้

 

  •  

    หลังจากทดลองมาหลายรูปแบบหลายวิธีการเราจึงพบผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่ปลอดภัยกับครอบครัวซึ่งมีทั้งเด็กและคนชรา มีทั้งแชมพู น้ำยาล้างจาน และน้ำยาซักผ้า

    After experimenting with various formats and methods, we have identified a safe cleaning product suitable for families, catering to both children and older adults. The product range includes shampoo, dishwashing liquid, and laundry detergent.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • การสำรวจข้อมูลภาคสนามโดยใช้แผนที่เพื่อปรับปรุงข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จำเป็นต้องพิจารณากำหนดชนิดของคุณลักษณะข้อมูล

    Improving map data in geographic information systems with field data surveys using maps. We need consideration to determine the type of data feature.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ตั้งแต่เด็กจนแก่มนุษย์อยู่ภายใต้สภาพแวดล้อมรอบตัว การเหลียวหันไปมอง การไขว้คว้า การเคลื่อนที่ของมนุษย์ล้วนผ่านการจดจำว่ามีอะไร อยู่ที่ไหน อย่างไร ซึ่งเราเรียกมันว่า แผนที่ในใจ (Mental Map)

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • จัดเก็บข้อมูลภาคสนามด้วยแผนที่เพื่อจัดทำและนำเสนอข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จำเป็นต้องพิจารณากำหนดชนิดของคุณลักษณะข้อมูล (Feature Type)

    อ่านเพิ่มเติม...
  • หลักการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System : GIS) เนื้อหาการบรรยายจะเกี่ยวกับหลักการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ การสร้างและจัดการข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลตามแนวคิดทางภูมิศาสตร์

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ราชบัณฑิตยสถาน (2549,258) ให้ความหมายของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System) ว่า ระบบข้อมูลข่าวสารที่เชื่อมโยงกับค่าพิกัดภูมิศาสตร์....." แล้วเข้าใจข้อมูลที่เชื่อมโยงกับค่าพิกัดภูมิศาสตร์ว่าอย่างไร

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • GIS เป็น แค่เครื่องมือ ในการนำเครื่องมือชนิดนี้ไปใช้งาน จำเป็นต้องมีความรู้และเข้าใจความสัมพันธ์ขององค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง โดยการประยุกต์ใช้หรือการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ ควรศึกษาในบ้างองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง ได้แก่

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

     เมื่อการเพิ่มขึ้น-ลดลงของประชากรในจังหวัดเชียงใหม่ในภาษานักประชากรศาสตร์ถูกอธิบายบนพื้นที่แบบนักภูมิศาสตร์

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •   

    สิ่งที่ปรากฏข้างหน้า...เขาหัวโล้นที่ปรากฏเด่นชัด...ป่าต้นน้ำหายไปไหนเป็นคำถามที่ผุดขึ้นในสมอง

    The prominent feature ahead is a mountain with very few remaining trees. Where has the vanished watershed forest gone?

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    ประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปจะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ นับตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2550 ปี พ.ศ. 2555 จนกระทั้งปี พ.ศ. 2559

    อ่านเพิ่มเติม...

ผู้เยี่ยมชม GEO2GIS.com

วันนี้62
เมื่อวานนี้455
สัปดาห์นี้2116
เดือนนี้5080
ทั้งหมด1466007
สมาชิก log in ขณะนี้ 0
Online ขณะนี้ 5

JSN Epic is designed by JoomlaShine.com