สาระภูมิศาสตร์

“เมื่อประชากรไทยใกล้สิ้น ปี 2565” ตอนที่ 2 ประเทศไทยมีประชากร “วัยแรงงาน” และ “วัยพึ่งพิง” อยู่เท่าไร ที่ไหนบ้าง

หากนับเอาประชากรวัยเด็กรวมกับประชากรวัยสูงอายุเป็น ประชากรวัยพึ่งพิง แล้ว

พบว่าประชากรวัยพึ่งพิงมีถึงร้อยละ 34.19 หรือเกินครึ่งของจำนวนประชากรวัยแรงงานแล้ว

และเมื่อคำนวณอัตราส่วนพึ่งพิงทางอายุจะเท่ากับ 53 

สารบัญ

การเคลื่อนตัวของอากาศที่เรียกว่าลมนั้น สามารถแบ่งประเภทได้ตามลักษณะการเกิด พื้นที่ที่เกิด และช่วงเวลาการเกิด ดังนี้

  1. ลมประจำเวลา (Diurnal Wind) หรือ ลมเฉื่อย (Breeze)   
  2. ลมประจำถิ่น (Local Wind)
  3. ลมประจำปี (Prevailing Wind)
  4. ลมประจำฤดู (Seasonal Wind)
  5. มแปรปรวนหรือลมพายุ (Storm) 

 

1. ลมประจำเวลา (Diurnal Wind) หรือ ลมเฉื่อย (Breeze) 

ป็นลมที่มักจะเกิดในบริเวณหนึ่งๆ ในช่วงเวลาต่างกันในรอบวัน คือ กลางวันและกลางคืน โดยจะเกิดบริเวณพื้นที่ที่ใกล้กันแต่มีลักษณะภูมิประเทศแตกต่างกัน ซึ่งในเวลากลางวันและกลางคืนอุณหภูมิระหว่างสองพื้นที่จะต่างกันด้วย ลมประจำเวลา ได้แก่ ลมบก-ลมทะเล  ลมหุบเขา-ลมภูเขา

  • เหตุการณ์ทางธรรมชาติที่แปรผันไปตามสภาพลมฟ้าอากาศ ภัยแล้งส่วนใหญ่เกิดในเวลาฝนทิ้งช่วงเดือนมิถุนายน

    อ่านเพิ่มเติม...
  • สำรับมนุษย์แล้ว ไฟเป็นทั้งเพื่อนและศัตรู ทาสและเจ้านาย  ไฟเป็นพลังธรรมชาติ ซึ่งได้ถูกมนุษย์นำมาใช้ประโยชน์

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    นักภูมิศาสตร์ควรเรียนรู้และศึกษาภูมิประเทศ ภูมิอากาศ สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมในพื้นที่โดยมุ่งเน้นศึกษาศึกษาเกี่ยวกับโลกในมิติของพื้นที่และเวลา

    อ่านเพิ่มเติม...
JSN Epic is designed by JoomlaShine.com