ปรากฏการณ์ เอลนีโญ – ลานิญา ถูกพูดถึงบ่อยและมากขึ้น ในฐานะนักภูมิศาสตร์คงต้องอธิบายเพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจอีกครั้ง

The phenomenon of El Niño-La Niña is increasingly and frequently discussed. As a geographer, it is essential to provide explanations for better understanding once again.

อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    หยดน้ำไหลออกมาจากรากต้นไม้ ทางน้ำเล็กๆ ซากใบไม้ทับถมและซับน้ำ กรองน้ำส่งลงพื้นราบ

    Fallen leaves, which absorb and filter water into the flat plains covered droplets cascade from tree roots and small waterways.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • มวลสารที่อัดแน่นอยู่ระเบิดออกอย่างรุนแรง (Big Bang) ทำให้เกิดระบบสุริยจักรวาล

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • หลังจากเปลือกโลกยกตัวขึ้นก็เกิดขบวนการกัดเซาะของน้ำมีพัฒนาการแบ่งเป็น 3 ช่วงอายุ

    After the earth's crust uplifts, erosion processes occur, developing into three age stages.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ฝนตกในวันที่ 9 และ 10 ธ.ค. 2566 ในวันที่ 11 ธ.ค. 2566 ไม่มีหมอก วันที่ 12 ธ.ค. 2566 ตอนเช้าอากาศเย็นเล็กน้อย ปรากฏมหมอกบาง ๆ รอบๆ บ้านภูมิ-เพียง แม่ริม เชียงใหม่

    Rain on December 9 and 10, 2023. December 11, 2023, no fog. On December 12, 2023, the morning was slightly cold. The fog appeared around the BaanPoomPiang Mae Rim Chiang Mai.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • เหตุการณ์ทางธรรมชาติที่แปรผันไปตามสภาพลมฟ้าอากาศ ภัยแล้งส่วนใหญ่เกิดในเวลาฝนทิ้งช่วงเดือนมิถุนายน

    อ่านเพิ่มเติม...
  • สำรับมนุษย์แล้ว ไฟเป็นทั้งเพื่อนและศัตรู ทาสและเจ้านาย  ไฟเป็นพลังธรรมชาติ ซึ่งได้ถูกมนุษย์นำมาใช้ประโยชน์

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานครได้พัฒนาระบบ GIS จนกระทั้งสามารถสนับสนุนงานของ กทม. ได้มากมายในปัจจุบัน

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  ติดตามสถานการณ์ภารกิจช่วยเหลือเด็ก ๆ หายและเริ่มต้นการค้นหา

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    เพื่อไม่ให้เนื้อหาที่เตรียมไปบรรยายประกอบการเรียน การสอนวิชา 154108 เสียของ จึงขอนำเอามาเขียนไว้ใน www.GEO2GIS.com โดยจะแบ่งเป็น 5 ตอน

    อ่านเพิ่มเติม...
ดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งาน
 

กรุงเทพมหานคร ดำเนินการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับกรุงเทพมหานครมาอย่างต่อเนื่อง โดยกำหนดแนวทางไว้อย่างชัดเจนตามแผนบริหารราชการกรุงเทพมหานคร และแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศกรุงเทพมหานคร (ปี พ.ศ. 2544 2549) ซึ่งมีการนำเสนอแผนงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศไว้ 10 ด้าน คือ

1.             แผนงานระบบงานสารสนเทศระดับกรุงเทพมหานคร

2.             แผนงานโครงสร้างพื้นฐานด้านเครือข่าย

3.             แผนงานโครงสร้างพื้นฐานด้านสารสนเทศภูมิศาสตร์

4.             แผนงานโครงสร้างพื้นฐานด้านข้อมูล

5.             แผนงานโครงสร้างพื้นฐานด้าน Information Portal

6.             แผนงานโครงสร้างพื้นฐานด้านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์

7.             แผนงานโครงสร้างพื้นฐานด้านระบบสนับสนุน

8.             แผนงานพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

9.             แผนงานตามภารกิจหลักของสำนัก

10.      แผนงานตามภารกิจหลักในส่วนที่เป็นระบบเสริมสำหรับแต่ละสำนัก

การผลักดันจากการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานคร โดยโครงการระบบข้อสนเทศที่ดินกรุงเทพมหานคร (BLIS : Bangkok Land Information System) ตลอดจนมอบหมายหน่วยงานปฏิบัติงานด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จนกระทั้งจัดตั้งกองสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยให้ปฏิบัติงานในบทบาท ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานคร (BMA GIS Center) พร้อมทั้งกำหนดแผนกลยุทธ์ในการนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มาใช้ในกรุงเทพมหานคร (BMA Strategic Plan)

ทั้งนี้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานครได้พัฒนางานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มาจนกระทั้งสามารถสนับสนุนงานของกรุงเทพมหานครและให้บริการข้อมูลแก่ประชาชนผ่านระบบ Internet ได้ในปัจจุบัน

 ในการจัดตั้งระบบ จัดทำข้อมูลและพัฒนาระบบงานด้าน GIS ของกรุงเทพมหานครตั้งแต่เริ่มต้น พบว่า ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานครได้พัฒนาระบบ GIS สนับสนุนการปฏิบัติงานภายในหน่วยงาน สนับสนุนนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร  สนับสนุนนโยบายของรัฐบาลและให้บริการประชาชนจำนวนมาก ซึ่งเท่าที่สามารถหาข้อมูลได้พบว่าประกอบด้วยระบบต่าง ๆ ดังนี้

1.              การประยุกต์ใช้ระบบ GIS สำหรับการจัดเก็บค่าธรรมเนียมขยะในเขตทวีวัฒนา

เจ้าหน้าที่ของเขตทวีวัฒนาจะใช้ระบบ GIS ตรวจสอบการชำระและค้างชำระค่าธรรมเนียมขยะผ่านข้อมูลเลขที่บ้านในแผนที่อาคาร ผู้จัดเก็บจะพิมพ์แผนที่ไปประกอบการจัดเก็บโดยสามารถค้นหาอาคารและเจ้าของอาคารที่ยังค้างชำระฯ ซึ่งจะแสดงเลขที่อาคาร ประวัติการชำระค่าธรรมเนียมฯบนจอคอมพิวเตอร์ ในรูปแผนที่ที่ตั้งอาคารนั้น ๆ เมื่อมีการจัดเก็บค่าธรรมเนียมฯและออกใบเสร็จรับเงินแล้ว เจ้าหน้าที่จะต้องนำเอาเลขที่ใบเสร็จรับเงินมาจัดเก็บเข้าระบบ ซึ่งจะเป็นการปรับแก้ข้อมูลให้ทันสมัยตลอดเวลา และเมื่อต้องการสรุปยอดการจัดเก็บค่าธรรมเนียมฯ ผู้ใช้สามารถพิมพ์ข้อมูลสรุปในรูปรายงาน และแผนภูมิได้ทั้งรายเดือนและรายปี

2.              โปรแกรมประยุกต์นำเสนอข้อมูลผ่านเทคโนโลยี GIS WEB PAGE ใช้งานผ่านเครือข่ายเชื่อมระหว่าง กองสารสนเทศที่ดิน กับ สำนักงานเขต ทวีวัฒนา

ข้อมูลจากระบบ GIS ของสำนักงานเขตทวีวัฒนาจะสามารถเรียกดูได้ที่ กองสารสนเทศที่ดิน สำนักนโยบายและแผน ที่ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร1 ผ่านระบบเครือข่ายได้ในรูป GIS Web Page ทั้งข้อมูลอาคาร ข้อมูลค่าธรรมเนียมขยะ ข้อมูลประชากร ฯลฯ

 

 

3.              ระบบจัดการข้อมูลด้านการระบายน้ำ ของสำนักการระบายน้ำ

มีการเชื่อมโยงข้อมูลปริมาณน้ำในคลองทั้งหน้า-หลังประตูระบายน้ำจากระบบ SCADA เข้ากับระบบ GIS พร้อมแสดงข้อมูลจุดอ่อนน้ำท่วม แนวท่อระบายน้ำ รวมทั้งนำข้อมูลมา Generate Model ด้านน้ำท่วมโดยแสดงเป็นข้อมูลแผนที่ ตารางรายงาน ภาพหน้าตัด แผนผังประตูระบายน้ำและแผนภูมิ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

  •  

    หลังจากทดลองมาหลายรูปแบบหลายวิธีการเราจึงพบผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่ปลอดภัยกับครอบครัวซึ่งมีทั้งเด็กและคนชรา มีทั้งแชมพู น้ำยาล้างจาน และน้ำยาซักผ้า

    After experimenting with various formats and methods, we have identified a safe cleaning product suitable for families, catering to both children and older adults. The product range includes shampoo, dishwashing liquid, and laundry detergent.

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    เมื่อโลกมีลักษณะเป็นทรงกลมคล้ายผลส้ม การทำแผนที่ซึ่งต้องเป็นแผ่นราบใช้พกพา การย่อส่วนและการใช้สัญลักษณ์แสดงสิ่งที่ปรากฏบนพื้นโลกซึ่งต้องการความถูกต้องใกล้เคียงทั้งทิศทาง ระยะทาง รูปร่างและพื้นที่เป็นสิ่งจำเป็นที่นักภูมิศาสตร์ต้องสร้างเส้นโครงแผนที่ขึ้นมา 

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    เกิดอะไรขึ้นกับข้อมูลที่ได้จากแผนที่กระดาษและแผนที่ดิจิทัลหลากหลายมาตราส่วน เมื่อนำมาใช้วัดตำแหน่ง ทิศทาง ระยะทาง พื้นที่ ความสูง-ต่ำ และความลาดเอียงของพื้นผิวโลก

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • แผนที่กระดาษยังเป็นแผนที่ที่มีประสิทธิภาพมาก เนื่องจากข้อจำกัดของแผนที่ในระบบคอมพิวเตอร์

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS) เนื้อหาการบรรยายเน้นอธิบายให้เข้าใจที่มาของระบบ GIS รวมทั้ง Spatial data เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยแผนที่ระบบเดิม โดยมีกิจกรรมแทรกประกอบ

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ในการสร้างหรือแก้ไขชั้นข้อมูลในระบบ GIS สิ่งที่ต้องระวังและควรรับรู้ก็คือที่มาของแผนที่ฐาน เนื่องจากข้อมูลในคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นระบบ Digital การย่อ ขยายเพื่อปรับแก้ข้อมูลทำได้ง่ายแต่คลาดเคลื่อนผิดพลาดตามค่าตั้งต้น

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ากมอง GIS ในฐานะเครื่องมือแล้ว GIS จะประกอบด้วย Hardware Software Data Information Network Application และ Peopleware หากแต่ผลผลิตของ GIS คือสารสนเทศ (Information) ซึ่งลักษณะเด่นคือ สารสนเทศเชิงพื้นที่ (Spatial Information)

    อ่านเพิ่มเติม...
  •   

    สิ่งที่ปรากฏข้างหน้า...เขาหัวโล้นที่ปรากฏเด่นชัด...ป่าต้นน้ำหายไปไหนเป็นคำถามที่ผุดขึ้นในสมอง

    The prominent feature ahead is a mountain with very few remaining trees. Where has the vanished watershed forest gone?

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ผลกระทบจากพายุฤดูร้อนที่ควรศึกษาและจัดการ

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    บทความชุด มองข้อมูลประชากรในมิติของพื้นที่กับเวลาของนักภูมิศาสตร์คงบอกเล่ามุมมองของนักภูมิศาสตร์ได้ชัดขึ้น

    อ่านเพิ่มเติม...

ผู้เยี่ยมชม GEO2GIS.com

วันนี้72
เมื่อวานนี้455
สัปดาห์นี้2126
เดือนนี้5090
ทั้งหมด1466017
สมาชิก log in ขณะนี้ 0
Online ขณะนี้ 8

JSN Epic is designed by JoomlaShine.com