สาระภูมิศาสตร์

“เมื่อประชากรไทยใกล้สิ้น ปี 2565” ตอนที่ 1 เข้าใกล้ “สังคมผู้สูงอายุ” ...แล้ว...ประชากรวัยแรงงาน วัยเด็กและวัยชรา มีอยู่เท่าไร

ประเทศไทยเข้าสู่ สังคมผู้สูงวัย ขณะที่ประชากรวัยชราและประชากรวัยเด็กซึ่งเป็นวัยพึ่งพิงต้องการการเลี้ยงดูและดูแลจากวัยแรงงาน ภายใต้สภาวะประชากรวัยเด็ก”ลดลง "วัยชรา"เพิ่มขึ้น "วัยแรงงาน" พร้อมจะเลี้ยงดูและดูแลกันอย่างไร 

เดิมนักภูมิศาสตร์มุ่งศึกษาในเชิงคุณภาพ (Qualitative) มากกว่าเชิงปริมาณ (Quantitative) ผลงานของนักภูมิศาสตร์จึงเป็นงานด้านการบรรยายเป็นหลัก ในการยอมรับจึงเป็นไปน้อยเพราะเชื่อกันว่าการศึกษาเชิงคุณภาพขาดความถูกต้องและเที่ยงตรง ในภายหลังนักภูมิศาสตร์จึงสนใจศึกษาเชิงปริมาณมากขึ้น

 การวัดค่าในศาสตร์ของภูมิศาสตร์ 2

เดิมนักภูมิศาสตร์มุ่งศึกษาในเชิงคุณภาพ (Qualitative) มากกว่าเชิงปริมาณ (Quantitative) ผล งานของนักภูมิศาสตร์จึงเป็นงานด้านการบรรยายเป็นหลัก ในการยอมรับจึงเป็นไปน้อยเพราะเชื่อกันว่าการศึกษาเชิงคุณภาพขาดความถูกต้อง และเที่ยงตรง ในภายหลังนักภูมิศาสตร์จึงสนใจศึกษาเชิงปริมาณมากขึ้น

อย่างไรก็ตามก็ยังคงศึกษาควบคู่ไปกับเชิงคุณภาพไปด้วยตลอดจึงเป็นลักษณะเด่นของนักภูมิศาสตร์ที่มีการศึกษาเชิงพื้นที่ที่มีการบรรยายควบคู่ไปกับข้อมูลเชิงปริมาณที่มีความถูกต้อง (Accuracy) และเที่ยงตรง (Validity)

ในการศึกษาทางภูมิศาสตร์การบรรยายข้อมูลเนื้อความจะมีทั้งความแม่นยำ (Precision) และความถูกต้อง (Accuracy) ควบคู่กัน

ความแม่นยำไม่จำเป็นต้องถูกต้องเสมอไป หากเปรียบเทียบกับการปาเป้าสามารถอธิบายได้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

1)     1. กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ 1,500 ตารางกิโลเมตร

อธิบายได้ว่า ปาเป้ามีความแม่นยำแต่ไม่ถูกต้องตรงกลางเป้า

1)      2. กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ 1,568 ตารางกิโลเมตร

อธิบายได้ว่า ปาเป้ามีความแม่นยำและถูกต้องตรงกลางเป้า

1)      3. กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ใหญ่กว่าทุกจังหวัดในประเทศไทย

อธิบายได้ว่า ปาเป้าไม่มีความแม่นยำและไม่ถูกต้อง

1)     4. กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ใหญ่กว่าหลายจังหวัดในประเทศไทย

อธิบายได้ว่า ปาเป้าแม้ถูกต้องแต่ไม่มีความแม่นยำ นั้นคือข้อมูลถูกต้องแต่ไม่มีรายละเอียดเข้าใจได้หลากหลาย

ในการวัดค่าจะมีหน่วยนับซึ่งสามารถแยกข้อมูลเชิงปริมาณได้ 3 ลักษณะ คือ

 

   1. Ordinal

2.       2. Interval

  3.    3. Ratio

 

 

 อ่าน การวัดค่าในศาสตร์ของภูมิศาสตร์ ๑ ที่ https://www.geo2gis.com/index.php/geography/239-measure-1

 

 

 

 

  • ฝนตกในวันที่ 9 และ 10 ธ.ค. 2566 ในวันที่ 11 ธ.ค. 2566 ไม่มีหมอก วันที่ 12 ธ.ค. 2566 ตอนเช้าอากาศเย็นเล็กน้อย ปรากฏมหมอกบาง ๆ รอบๆ บ้านภูมิ-เพียง แม่ริม เชียงใหม่

    Rain on December 9 and 10, 2023. December 11, 2023, no fog. On December 12, 2023, the morning was slightly cold. The fog appeared around the BaanPoomPiang Mae Rim Chiang Mai.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • สำรับมนุษย์แล้ว ไฟเป็นทั้งเพื่อนและศัตรู ทาสและเจ้านาย  ไฟเป็นพลังธรรมชาติ ซึ่งได้ถูกมนุษย์นำมาใช้ประโยชน์

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    จากสภาพปัญหาเรื่องการประสานสาธารณูปโภคจึงเกิดโครงการทดลองที่นำเอาระบบ GIS มาเป็นเครื่องมือจัดสร้างฐานข้อมูลร่วมกันเพื่อการทำงานร่วมกัน

    อ่านเพิ่มเติม...
JSN Epic is designed by JoomlaShine.com