มาเล่นสงกรานต์ถึงเชียงใหม่ คิดถึงวันเก่า ๆ ที่ใส่เสื้อม่อฮ่อมเล่นสาดน้ำรอบเมือง

Songkran festival in Chiang Mai, reminiscing about the old days when we wore the traditional 'moh hom' shirt, splashing water around the city.

อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    หยดน้ำไหลออกมาจากรากต้นไม้ ทางน้ำเล็กๆ ซากใบไม้ทับถมและซับน้ำ กรองน้ำส่งลงพื้นราบ

    Fallen leaves, which absorb and filter water into the flat plains covered droplets cascade from tree roots and small waterways.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • มวลสารที่อัดแน่นอยู่ระเบิดออกอย่างรุนแรง (Big Bang) ทำให้เกิดระบบสุริยจักรวาล

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • พื้นผิวของประเทศไทย เมื่อแบ่งตามธรณีสัณฐานจะแบ่งได้ 8 ภูมิภาค

    อ่านเพิ่มเติม...
  • การรู้เรื่องลมฟ้าอากาศ เป็นการเรียนรู้สภาพของอากาศในช่วงระยะเวลาหนึ่งซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตาม วัน เวลาและสถานที่ ส่วนการรู้เรื่องภูมิอากาศ ก็เป็นการเรียนรู้สภาพอากาศที่เกิดขึ้นเป็นประจำต่อเนื่อง

    Meteorology involves studying the ever-changing atmospheric conditions. In contrast, climatology focuses on studying long-term weather patterns.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ปรากฏการณ์ เอลนีโญ – ลานิญา ถูกพูดถึงบ่อยและมากขึ้น ในฐานะนักภูมิศาสตร์คงต้องอธิบายเพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจอีกครั้ง

    The phenomenon of El Niño-La Niña is increasingly and frequently discussed. As a geographer, it is essential to provide explanations for better understanding once again.

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานครได้พัฒนาระบบ GIS จนกระทั้งสามารถสนับสนุนงานของ กทม. ได้มากมายในปัจจุบัน

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • โคลนถล่มที่ตำบลน้ำก้อ และอีกหลายพื้นที่ จนมาถึงการเกิดน้ำป่าทำความเสียหายให้กับปายและขุนน่าน ในเดือน สิงหาคม 2559 ...บทเรียนซ้ำ ๆ โมเดลเดิมๆ ช่างน่าเบื่อจังเลย 

    อ่านเพิ่มเติม...
  • สถิติและฐานข้อมูลสาหรับนักบริหาร (Statistics and database for administrators)สอนที่ วิทยาลัยการจัดการเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณ เนื้อหากล่าวถึงภาพรวมงานสถิติและขบวนการดำเนินงาน รวมถึงการนำไปใช้งานสำหรับการบริหารงานในทุกระดับ

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    นักภูมิศาสตร์ควรเรียนรู้และศึกษาภูมิประเทศ ภูมิอากาศ สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมในพื้นที่โดยมุ่งเน้นศึกษาศึกษาเกี่ยวกับโลกในมิติของพื้นที่และเวลา

    อ่านเพิ่มเติม...
ดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งาน
 

การกำหนด Feature Type กับความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับ มาตราส่วนของแผนที่ฐาน

ภายหลังที่อ่านบทความ ระบบ GIS ระบบข้อมูลที่เชื่อมโยงกับค่าพิกัด ?” ทำให้รู้จักคำว่า Feature Type ซึ่งประกอบด้วย Point Line Area/Polygon และ 3D อย่างไรก็ตาม เมื่อใช้โปรแกรมระบบ GIS การกำหนดประเภทของ Feature เราจะคุ้นเคยเพียง Feature : Point Line Area/Polygon สำหรับ Feature ที่เป็น 3D เป็นเพียงลักษณะข้อมูลที่บอกความสูงต่ำซึ่งในระบบ GIS แล้วโดยปกติจะเก็บค่าในข้อมูลไว้ที่ตางรางข้อมูล Attribute Table

ในการกำหนดประเภท Feature ในโปรแกรมระบบ GIS จะเริ่มที่การสร้างชั้นข้อมูล โดยจะต้องกำหนดว่าชั้นข้อมูลใหม่จะเป็น Feature ประเภทไหน

วิธีกำหนดประเภท Feature ให้ถูกต้องตามหลักการควรพิจารณาดังนี้

1.       มาตราส่วนของแผนที่ฐาน (Base Map) ซึ่งปกติขนาดของมาตราส่วนจะขึ้นอยู่กับการประยุกต์ใช้งาน เช่น การใช้งานระบบ GIS เพื่อการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน เพื่อการขออนุญาตปลูกสร้างอาคารตามกฎหมายผังเมืองรวม เพื่อการวิเคราะห์พื้นที่เหมาะสมสำหรับการทิ้งขยะ ควรจะใช้แผนที่ฐานมาตราส่วนแตกต่างกันไป

2.       ขนาดของปรากฏการณ์หรือวัตถุที่เล็กที่สุดที่ต้องการสร้างชั้นข้อมูล

ตัวอย่างการกำหนด Feature Type ของชั้นข้อมูลอาคารที่ต้องการนำไปใช้ประโยชน์ที่ต่างกัน 2 กรณี คือ

1)       การใช้งานระบบ GIS เพื่อการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน

2)       การใช้งานระบบ GIS เพื่อการขออนุญาตปลูกสร้างอาคารตามกฎหมายผังเมืองรวม

จะพบว่ามีเงื่อนไขการกำหนดประเภท Feature ดังนี้

            - ปกติในเขตเมืองอาคารที่มีขนาดที่เล็กที่สุดจะ กว้าง x ยาว = 4 ม. X 6 ม.

- การใช้งานระบบ GIS เพื่อการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน ต้องการชี้เป้าอาคารหรือโรงเรือนที่ต้องจัดเก็บภาษีทุกอาคารให้แม่นยำไม่ผิดอาคาร จำเป็นต้องกำหนดชั้นข้อมูลอาคารให้มี Feature Type เป็น Polygon บนแผนที่ฐานมาตรส่วน 1 : 1000 หรือมาตราส่วนที่ใหญ่กว่า

เนื่องจากอาคารที่มีขนาดเล็กที่สุดกว้าง 4 เมตร หากการวาดแผนที่อาคารโดยใช้ลายเส้นที่หน้า 0.5 มิลลิเมตร วาดผนังอาคาร 2 ด้านคือ 2 เส้น ลายเส้นจะหนา 1 มิลลิเมตร

เมื่อใช้.....แผนที่มาตรส่วน 1 : 1000 จะมีขนาดหนาในพื้นที่โลกเท่ากับ 1000 มิลลิเมตร หรือ 1 เมตร

แต่ถ้าใช้.....แผนที่ฐานมาตราส่วนที่เล็กกว่า เช่น  1 : 4000 เมื่อวาดผนังอาคาร 2 ด้าน (ลายเส้นที่หน้า 0.5 มิลลิเมตร 2 เส้น) จะมีขนาดหนาในพื้นที่โลกเท่ากับ 4000 มิลลิเมตร หรือ 4 เมตร ซึ่งเท่ากับขนาดของอาคารที่มีขนาดเล็กที่สุดกว้าง 4 เมตรซึ่งไม่สามารถสร้างชั้นข้อมูลอาคารเป็น Polygon ได้

- การใช้งานระบบ GIS เพื่อการขออนุญาตปลูกสร้างอาคารตามกฎหมายผังเมืองรวมต้องการชี้เป้าอาคารที่อยู่ในขอบเขตโซนการใช้ประโยชน์ที่ดินตามประเภทของผังเมืองรวมเท่านั้น เราสามารถกำหนด Feature Type เป็น Point ได้ โดยแผนที่ฐานอาจจะไม่จำเป็นต้องใช้แผนที่มาตรา 1 : 1000 อาจจะใช้แผนที่ มาตราส่วน 1 : 4000 หรือมาตราส่วนที่เล็กกว่าก็ได้ เพียงแต่ต้องสามารถแสดงข้อมูลขอบถนน ทางน้ำหรือแนวอ้างอิงอื่นใดที่สามารถแสดงขอบเขตโซนการใช้ประโยชน์ที่ดินตามประเภทของผังเมืองรวมได้

  •  

    หลังจากทดลองมาหลายรูปแบบหลายวิธีการเราจึงพบผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่ปลอดภัยกับครอบครัวซึ่งมีทั้งเด็กและคนชรา มีทั้งแชมพู น้ำยาล้างจาน และน้ำยาซักผ้า

    After experimenting with various formats and methods, we have identified a safe cleaning product suitable for families, catering to both children and older adults. The product range includes shampoo, dishwashing liquid, and laundry detergent.

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    เกิดอะไรขึ้นเมื่อแผนที่กระดาษมีสัญลักษณ์แนวทิศเหนืออยู่ 3 ทิศ อะไรกัน...

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • มาตราส่วนจะสัมพันธ์ในการทำ Generalization และ Symbolization ในแผนที่

    The scale plays a crucial role in the processes of generalization and symbolization in cartography.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • การวัดพื้นที่บนแผนที่มีหลายวิธีการ แต่ละวิธีมีความเหมาะสมและได้ผลถูกต้องแม่นยำแตกต่างกันไป ทั้งนี้จะขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง ในการวัดพื้นที่บนแผนที่เบื้องต้น ผู้ที่วัดขนาดพื้นที่ต้องเข้าใจ

    อ่านเพิ่มเติม...
  • GIS : หลักการและการสร้างแผนที่ภูมิศาสตร์เบื้องต้น การใช้งานโปรแกรม ArcView 3.2 เบื้องต้น เนื้อหา การใช้งานโปรแกรม ArcView 3.2 เพื่อจัดทำและนำเสนอข้อมูลทั้งในรูปฐานข้อมูล แผนภูมิ และแผนที่  โดยสอนฝึกปฏิบัติกับโปรแกรมและข้อมูลจริง

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS) เนื้อหาการบรรยายเน้นอธิบายให้เข้าใจที่มาของระบบ GIS รวมทั้ง Spatial data เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยแผนที่ระบบเดิม โดยมีกิจกรรมแทรกประกอบ

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    การนำข้อมูลในระบบ GIS ที่เป็น Attribute data มาแสดงผลให้เห็นเป็นภาพในแผนที่ สามารถแสดงได้ 4 รูปแบบ คือ

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

     เมื่อการเพิ่มขึ้น-ลดลงของประชากรในจังหวัดเชียงใหม่ในภาษานักประชากรศาสตร์ถูกอธิบายบนพื้นที่แบบนักภูมิศาสตร์

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    เมื่อนำเอาข้อมูลจำนวนประชากรและพื้นที่มามองในมุมของความหนาแน่นและการกระจายตัวของประชากรในจังหวัดเชียงใหม่

     

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • นักท่องเที่ยว แรงงานต่างด้าว ในเมืองเชียงใหม่ 

    Travelers and foreign workers in the city of Chiang Mai.

    อ่านเพิ่มเติม...

ผู้เยี่ยมชม GEO2GIS.com

วันนี้324
เมื่อวานนี้593
สัปดาห์นี้3517
เดือนนี้2478
ทั้งหมด1201660
สมาชิก log in ขณะนี้ 0
Online ขณะนี้ 9

JSN Epic is designed by JoomlaShine.com