ผลกระทบจากพายุฤดูร้อนที่ควรศึกษาและจัดการ

อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    หยดน้ำไหลออกมาจากรากต้นไม้ ทางน้ำเล็กๆ ซากใบไม้ทับถมและซับน้ำ กรองน้ำส่งลงพื้นราบ

    Fallen leaves, which absorb and filter water into the flat plains covered droplets cascade from tree roots and small waterways.

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  ประเทศไทยอยู่ในกลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ระหว่างละติจูดที่ 5 ถึง 12 องศาเหนือ และลองจิจูด 97 ถึง 106 องศาตะวันออก มีเนื้อที่ประมาณ 513115 ตารางกิโลเมตร

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  ประเทศไทยอยู่ในกลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ระหว่างละติจูดที่ 5 ถึง 12 องศาเหนือ และลองจิจูด 97 ถึง 106 องศาตะวันออก มีเนื้อที่ประมาณ 513115 ตารางกิโลเมตร

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ภัย พิบัติจากพายุ ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นทางตอนใต้ของประเทศเนื่องจากอยู่ใกล้ทะเล พายุที่ก่อให้เกิดความเสียหาย

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • การรู้เรื่องลมฟ้าอากาศ เป็นการเรียนรู้สภาพของอากาศในช่วงระยะเวลาหนึ่งซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตาม วัน เวลาและสถานที่ ส่วนการรู้เรื่องภูมิอากาศ ก็เป็นการเรียนรู้สภาพอากาศที่เกิดขึ้นเป็นประจำต่อเนื่อง

    Meteorology involves studying the ever-changing atmospheric conditions. In contrast, climatology focuses on studying long-term weather patterns.

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานครได้พัฒนาระบบ GIS จนกระทั้งสามารถสนับสนุนงานของ กทม. ได้มากมายในปัจจุบัน

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • โคลนถล่มที่ตำบลน้ำก้อ และอีกหลายพื้นที่ จนมาถึงการเกิดน้ำป่าทำความเสียหายให้กับปายและขุนน่าน ในเดือน สิงหาคม 2559 ...บทเรียนซ้ำ ๆ โมเดลเดิมๆ ช่างน่าเบื่อจังเลย 

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  ติดตามสถานการณ์ภารกิจช่วยเหลือเด็ก ๆ หายและเริ่มต้นการค้นหา

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • เดิมนักภูมิศาสตร์มุ่งศึกษาในเชิงคุณภาพ (Qualitative) มากกว่าเชิงปริมาณ (Quantitative) ผลงานของนักภูมิศาสตร์จึงเป็นงานด้านการบรรยายเป็นหลัก ในการยอมรับจึงเป็นไปน้อยเพราะเชื่อกันว่าการศึกษาเชิงคุณภาพขาดความถูกต้องและเที่ยงตรง ในภายหลังนักภูมิศาสตร์จึงสนใจศึกษาเชิงปริมาณมากขึ้น

    อ่านเพิ่มเติม...
ดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งาน
 

กทม. กับ การจัดการ IT ตอน 3 (บทบาท IT ที่ต้องบริหารจัดการอะไรกับใครบ้าง)

หากพิจารณาแผนผังความสัมพันธ์ของหน่วย IT ของ กทม.กับงานด้าน IT ซึ่งทำงานร่วมกันกับหน่วยงานหรือหน่วยสั่งการทั้งภายในและภายนอก กทม.แล้ว จะพบความสัมพันธ์ดังนี้

 1.        เกี่ยวข้องเชื่อมต่อภายใน กทม.โดยตรงเป็นการเชื่อมระหว่างหน่วย  IT ของกทม. กับหน่วย IT ของสำนัก สำนักงานเขต และหน่วยงานในสังกัด กทม. เช่น โรงเรียน โรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข ฯลฯ  

 2.       เกี่ยวข้องเชื่อมต่อภายนอก กทม.เป็นการเชื่อมระหว่างหน่วยงานกลาง IT ของกทม. กับหน่วย IT ของ หน่วยงานรัฐบาลนอกสั่งกัด กทม. หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานเอกชน

 และหากต้องบริหารจัดการระบบ IT โดยดูที่องค์ประกอบคือ Hardware (HW), Software (SW), Peopleware (PW), Network & Communication (NW), Application (App) และData & Information (Data/Inf.) แล้ว สิ่งที่หน่วย IT ต้องบริหารจัดการองค์ประกอบ IT ที่มีอยู่ตามหน่วยงานต่างๆทั้งหมดย่อมต้องวางแผนและกำหนดแนวทางให้ชัดเจน

 

จากแผนผังซึ่งเกิดจากการนำแผนผังความสัมพันธ์ของหน่วย IT ของ กทม.กับหน่วย IT อื่นๆ มาซ้อนทับแผนผังองค์ประกอบ IT โดยแยกการบริหารจัดการองค์ประกอบ IT ที่มีอยู่ตามหน่วยงานต่างๆ โดยจะพบว่า

 

-          สิ่งที่หน่วย IT ของ กทม. จะต้องบริการจัดการทรัพยากรด้าน IT ทั้ง HW SW PW APP NW Data/Inf. ทั้งหมดจะอยู่ที่สำนักยุทธศาสตร์และประมวลผล (สยป.)ซึ่งเป็นหน่วยงานกลางด้าน IT ของ กทม. อยู่ที่สำนัก สำนักงานเขต หน่วยงานในสังกัด กทม.

 

-          ส่วนที่เป็นหน่วยงานนอกสังกัด กทม. ซึ่งบริหารจัดการทรัพยากรด้าน IT เองแต่ในบางครั้งจะให้สิทธิ์ กทม. เข้าไปติดตั้ง เชื่อมต่อ ดูแลและใช้งานทรัพยากรด้าน IT ได้บางส่วน จะมีทั้งหน่วยงานรัฐบาล เช่น สำนักงานทะเบียนราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย สำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง ฯลฯ   หน่วยงานนอกสังกัด กทม. ที่เป็นรัฐวิสาหกิจ/เอกชน ได้แก่ ธนาคารต่างๆ    

 

คำถามคือ หน่วย IT ต้องบริหารจัดการองค์ประกอบ IT เหล่านั้นอย่างเป็นระบบอย่างไรหรือเป็นระบบอะไรบ้าง

 

ตามที่กล่าวไว้ว่าส่วนที่หน่วยงานด้าน IT ต้องบริหารจัดการจะประกอบด้วย 4 ส่วนหลัก คือ

1.Information Technology (IT) เป็นการประยุกต์ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อจัดเก็บ ค้นหา ส่งผ่าน วิเคราะห์ ประมวลผล และแสดงผลข้อมูล โดยจะรวมถึงเทคโนโลยีการสื่อสารสารสนเทศอื่นด้วย เช่น โทรทัศน์โทรศัพท์ กล้องถ่ายภาพ กล้องซีซีทีวี อุปกรณ์ทางการแพทย์ ฯลฯ

2.Communication Technology (CT) เป็น Digital Technology ที่พัฒนาเพื่อจัดการด้านการสื่อสาร (Communication) หรือ การขนส่งข่าวสาร (Transfer of Information) ทั้งทางด้านภาพ (Image) เสียง (Voice) หรือทางด้านข้อมูล (Data) โดยมีองค์ประกอบ ส่วน ได้แก่ ผู้ส่งสาร ช่องทางการสื่อสาร และ ผู้รับสาร และมีระบบการสื่อสาร 2 ประเภท คือ ประเภทมีสาย และประเภทไม่มีสายหรือไร้สาย

3.Information Science (IS) เป็นขบวนการประมวลผลข้อมูลที่มีอยู่อย่างหลากหลายให้อยู่ในรูปของสารสนเทศหรือข่าวสารที่เป็นประโยชน์เพื่อใช้สนับสนุนการบริการ การบริหารและการตัดสินใจในทุกระดับ

              4.Information Technology Support & Service เป็นขบวนการสนับสนุนการทำงานในทุกขบวนการตั้งแต่การจัดหา จัดทำ ติดตั้ง ทดสอบ ดูแล ซ่อมบำรุง ปรับปรุงแก้ไขและอื่นๆที่เกี่ยวข้องโดยจะสนับสนุนทั้งทางด้านองค์ความรู้ เทคนิควิธีการใช้และปฏิบัติ สำหรับผู้ใช้งาน IT CT IS ในทุกระดับ

เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ของหน่วย IT ของ กทม.กับหน่วย IT อื่นๆ กับระบบที่จะเกิดทั้ง Information Technology (IT), Communication Technology (CT), Information Science (IS) และ Information Technology Support & Service (ITSS) จะพบว่าสิ่งที่หน่วย IT กทม.ต้องบริหารจัดการ จะอยู่ที่ สยป.หน่วยงานกลางด้าน IT ของ กทม. อยู่ที่สำนักต่างๆ  อยู่ที่สำนักงานเขต อยู่ที่หน่วยงานในสังกัด กทม.เท่านั้น ทั้งนี้โดยหลักการ สยป. หน่วยงานกลางด้าน IT ของ กทม.จะเป็นหน่วยอำนวยการ สำนัก สำนักงานเขต หน่วยงานในสังกัด กทม.อื่นๆ ควรจะเป็นหน่วย ปฏิบัติเท่านั้น

แต่โดยข้อเท็จจริงปัจจุบัน...หาเป็นเช่นนั้นไม่ ? (แล้วจะอย่างไร...มาว่ากันต่อตอนที่ 4 ครับ)

 

 

  •  

    หลังจากทดลองมาหลายรูปแบบหลายวิธีการเราจึงพบผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่ปลอดภัยกับครอบครัวซึ่งมีทั้งเด็กและคนชรา มีทั้งแชมพู น้ำยาล้างจาน และน้ำยาซักผ้า

    After experimenting with various formats and methods, we have identified a safe cleaning product suitable for families, catering to both children and older adults. The product range includes shampoo, dishwashing liquid, and laundry detergent.

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    เกิดอะไรขึ้นเมื่อแผนที่กระดาษมีสัญลักษณ์แนวทิศเหนืออยู่ 3 ทิศ อะไรกัน...

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • การวัดพื้นที่บนแผนที่มีหลายวิธีการ แต่ละวิธีมีความเหมาะสมและได้ผลถูกต้องแม่นยำแตกต่างกันไป ทั้งนี้จะขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง ในการวัดพื้นที่บนแผนที่เบื้องต้น ผู้ที่วัดขนาดพื้นที่ต้องเข้าใจ

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • หากเป็นผู้ใช้หรือผู้ผลิตแผนที่ต้องรับรู้และเข้าใจรายละเอียดประจำขอบระวาง รายละเอียดประจำขอบระวางที่ดีจะช่วย

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ปรากฏการณ์บนโลกมีทั้งที่กลมกลืนต่อเนื่องและแบ่งแยกชัดเจน การออกแบบในการสร้างและอธิบายให้เข้าใจผ่านเครื่องมือที่เรียกว่าแผนที่จำเป็นต้อง....

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ราชบัณฑิตยสถาน (2549,258) ให้ความหมายของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System) ว่า ระบบข้อมูลข่าวสารที่เชื่อมโยงกับค่าพิกัดภูมิศาสตร์....." แล้วเข้าใจข้อมูลที่เชื่อมโยงกับค่าพิกัดภูมิศาสตร์ว่าอย่างไร

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • GIS เป็น แค่เครื่องมือ ในการนำเครื่องมือชนิดนี้ไปใช้งาน จำเป็นต้องมีความรู้และเข้าใจความสัมพันธ์ขององค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง โดยการประยุกต์ใช้หรือการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ ควรศึกษาในบ้างองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง ได้แก่

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    เมื่อนำเอาข้อมูลจำนวนประชากรและพื้นที่มามองในมุมของความหนาแน่นและการกระจายตัวของประชากรในจังหวัดเชียงใหม่

     

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ผลกระทบจากพายุฤดูร้อนที่ควรศึกษาและจัดการ

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    บทความชุด มองข้อมูลประชากรในมิติของพื้นที่กับเวลาของนักภูมิศาสตร์คงบอกเล่ามุมมองของนักภูมิศาสตร์ได้ชัดขึ้น

    อ่านเพิ่มเติม...

ผู้เยี่ยมชม GEO2GIS.com

วันนี้357
เมื่อวานนี้593
สัปดาห์นี้3550
เดือนนี้2511
ทั้งหมด1201693
สมาชิก log in ขณะนี้ 0
Online ขณะนี้ 2

JSN Epic is designed by JoomlaShine.com