ปรากฏการณ์ เอลนีโญ – ลานิญา ถูกพูดถึงบ่อยและมากขึ้น ในฐานะนักภูมิศาสตร์คงต้องอธิบายเพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจอีกครั้ง

The phenomenon of El Niño-La Niña is increasingly and frequently discussed. As a geographer, it is essential to provide explanations for better understanding once again.

อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    หยดน้ำไหลออกมาจากรากต้นไม้ ทางน้ำเล็กๆ ซากใบไม้ทับถมและซับน้ำ กรองน้ำส่งลงพื้นราบ

    Fallen leaves, which absorb and filter water into the flat plains covered droplets cascade from tree roots and small waterways.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • พื้นผิวของประเทศไทย เมื่อแบ่งตามธรณีสัณฐานจะแบ่งได้ 8 ภูมิภาค

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  ประเทศไทยอยู่ในกลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ระหว่างละติจูดที่ 5 ถึง 12 องศาเหนือ และลองจิจูด 97 ถึง 106 องศาตะวันออก มีเนื้อที่ประมาณ 513115 ตารางกิโลเมตร

    อ่านเพิ่มเติม...
  • การรู้เรื่องลมฟ้าอากาศ เป็นการเรียนรู้สภาพของอากาศในช่วงระยะเวลาหนึ่งซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตาม วัน เวลาและสถานที่ ส่วนการรู้เรื่องภูมิอากาศ ก็เป็นการเรียนรู้สภาพอากาศที่เกิดขึ้นเป็นประจำต่อเนื่อง

    Meteorology involves studying the ever-changing atmospheric conditions. In contrast, climatology focuses on studying long-term weather patterns.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ฝนตกในวันที่ 9 และ 10 ธ.ค. 2566 ในวันที่ 11 ธ.ค. 2566 ไม่มีหมอก วันที่ 12 ธ.ค. 2566 ตอนเช้าอากาศเย็นเล็กน้อย ปรากฏมหมอกบาง ๆ รอบๆ บ้านภูมิ-เพียง แม่ริม เชียงใหม่

    Rain on December 9 and 10, 2023. December 11, 2023, no fog. On December 12, 2023, the morning was slightly cold. The fog appeared around the BaanPoomPiang Mae Rim Chiang Mai.

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    จากสภาพปัญหาเรื่องการประสานสาธารณูปโภคจึงเกิดโครงการทดลองที่นำเอาระบบ GIS มาเป็นเครื่องมือจัดสร้างฐานข้อมูลร่วมกันเพื่อการทำงานร่วมกัน

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานครได้พัฒนาระบบ GIS จนกระทั้งสามารถสนับสนุนงานของ กทม. ได้มากมายในปัจจุบัน

    อ่านเพิ่มเติม...
ดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งาน
 

สารบัญ

 ๒. เมื่อขนาดกว้างยาวของพื้นที่ที่แสดงแผนที่ (บนแผ่นกระดาษ จอภาพคอมพิวเตอร์ หรือ Smart phone) เท่ากันแล้ว แผนที่มาตราส่วนเล็กจะแสดงรายละเอียดของปรากฏการณ์บนพื้นโลกชนิดเดียวกันได้น้อยกว่าแผนที่มาตราส่วนใหญ่

2.1 หากความสามารถของเราสามารถวาดปรากฏการณ์บนพื้นที่ลงบนกระดาษด้วยหัวปากกาขนาด 0.5 mm. หมายความว่า

2.1.1 ที่แผนที่มาตราส่วน 1:10,000 ถ้าเราลากเส้นด้วยปากกา 1 เส้น เส้นนั้นจะมีความหนาเท่ากับ 0.5 x 10,000 มิลลิเมตร = 5 เมตร หรือ 1 จุดความหนาจะแทนปรากฏการณ์บนพื้นโลกขนาด 5 เมตร

2.1.2 ที่แผนที่มาตราส่วน 1:1,000 ถ้าเราลากเส้นด้วยปากกา 1 เส้น เส้นนั้นจะมีความหนาเท่ากับ 0.5 x 1,000 มิลลิเมตร = 1 เมตร หรือ 1 จุดความหนาจะแทนปรากฏการณ์บนพื้นโลกขนาด 1 เมตร

2.2 ตัวอย่างคือ

หากต้องการวาดถนนขนาด 2 เลนและฟุตบาท (2 เลน = 6 เมตร ฟุตบาทข้างละ 2 เมตร รวมแล้วถนนที่จะวาดบนแผนที่มีความกว้าง 10 เมตร)

2.2.1 บนแผนที่มาตราส่วน 1:10,000 วาดถนนโดยลากเส้นถนน 1 เส้นจะได้ถนนกว้าง 5

เมตร หากลาก 2 เส้นคู่ชิดกัน จะได้ถนนกว้าง 10 เมตร ดังนั้นการแสดงถนนดังกล่าวบน

แผนที่มาตราส่วน 1:10,000 จึงควรแสดงด้วยสัญลักษณ์เป็นเส้นเดียว หากแสดงเป็นเป็น

เส้นคู่ผู้ใช้แผนที่ต้องเข้าใจว่าผ่านขบวนการ Generalization จะมีความคลาดเคลื่อนทาง

ตำแหน่งและขนาดมาก

2.2.2 บนแผนที่มาตราส่วน 1:1,000 วาดถนนโดยลากเส้นถนน 1 เส้นจะได้ถนนกว้าง 1 เมตร หากลาก 2 เส้นคู่ชิดกัน จะได้ถนนกว้าง 2 เมตร ดังนั้นการแสดงถนนดังกล่าวบนแผนที่มาตราส่วน 1:1,000 สามารถแสดงด้วยสัญลักษณ์ขอบถนนเป็นเส้นคู่ได้ และยังสามารถแสดงสัญลักษณ์ขอบฟุตบาทได้ด้วย (ความคลาดเคลื่อนทางตำแหน่งและขนาดจะน้อยกว่าแผนที่มาตราส่วนเล็กกว่า)

 ๓. ข้อมูลแผนที่หรือภาพถ่ายจากดาวเทียมที่เป็นดิจิทัลเมื่อแสดงผลในจอคอมพิวเตอร์หรือSmart Phone จะสามารถขยายภาพ (Zoom In) ได้เรื่อยๆ แต่ความถูกต้องเชิงตำแหน่งจะยังคงอยู่ที่ Source Data

3.1 หากภาพถ่ายจากดาวเทียมที่เป็นข้อมูลดิจิทัลมีความละเอียด 1 เมตร หมายความว่าที่จอภาพคอมพิวเตอร์หรือ Smart Phone 1 pixel สามารถแสดงวัตถุหรือปรากฏการณ์บนพื้นโลกที่มีขนาดกว้าง-ยาวตั้งแต่ 1 เมตรขึ้นไปได้เท่านั้น วัตถุหรือปรากฏการณ์บนพื้นโลกที่มีขนาดกว้างหรือยาวเล็กว่า 1 เมตรจะไม่สามารถปรากฏเห็นได้ อย่างไรก็ตามเมื่อข้อมูลอยู่ในระบบดิจิทัลโปรแกรมที่ใช้ดูภาพถ่ายจากดาวเทียมจะสามารถขยายภาพ (Zoom In) บนจอภาพได้เรื่อยๆ หากต้องการเพิ่มรายละเอียดของข้อมูลเป็นชั้นข้อมูลแผนที่ใหม่โดยลากเส้นซ้อนทับภาพถ่ายจากดาวเทียม (Head Up Digitizing) จะสามารถทำได้แต่สิ่งที่ต้องเข้าใจคือ ความแม่นยำทางตำแหน่งของชั้นข้อมูลแผนที่ใหม่จะมีข้อจำกัดจะอยู่ที่ความละเอียดของข้อมูลตั้งต้น และองค์ประกอบการบินถ่ายภาพทั้งลักษณะกล้อง การเอียงของกล้อง การเอียงของภูมิประเทศ ฯลฯ

3.3 ตัวอย่างคือ

ภาพถ่ายจากดาวเทียมที่เป็นข้อมูลดิจิทัลมีความละเอียด 1 เมตรซึ่งถ่ายภาพในเขตเมืองสามารถมองเห็นแนวถนนได้ แต่ไม่สามารถแยกแยะผิวถนนกับฟุตบาทได้ หากใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ขยายภาพ (Zoom In) จะสามารถเพิ่มรายละเอียดข้อมูลโดยลากเส้นขอบถนนและฟุตบาทซ้อนทับไปบน Pixel ของภาพถ่ายจากดาวเทียมได้ แต่สิ่งที่ผิดพลาดแน่นอน คือการลากเส้นผ่านภาพถ่ายจากดาวเทียมไปนั้น ในแต่ละ Pixel จะสามารถเกิดความคลาดเคลื่อนออกจากตำแหน่งที่ถูกต้องได้เนื่องจาก 1 Pixel มีขนาดกว้าง-ยาวตั้งแต่ 1 เมตรหรือมากกว่า หากจุดเริ่มต้น (Start point) และจุดสุดท้าย (End point) ของเส้นคลาดเคลื่อนสิ่งที่ตามมาคือ ตำแหน่งระหว่างเส้น (Vertex) ระยะทาง (Distance) พื้นที่ (Area) ที่เกิดจากการคำนวณรูปปิดจะมีความคลาดเคลื่อนตามไปด้วย

 

 

  •  

    หลังจากทดลองมาหลายรูปแบบหลายวิธีการเราจึงพบผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่ปลอดภัยกับครอบครัวซึ่งมีทั้งเด็กและคนชรา มีทั้งแชมพู น้ำยาล้างจาน และน้ำยาซักผ้า

    After experimenting with various formats and methods, we have identified a safe cleaning product suitable for families, catering to both children and older adults. The product range includes shampoo, dishwashing liquid, and laundry detergent.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • หากเป็นผู้ใช้หรือผู้ผลิตแผนที่ต้องรับรู้และเข้าใจรายละเอียดประจำขอบระวาง รายละเอียดประจำขอบระวางที่ดีจะช่วย

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  ในอดีต แผนที่ผูกพันกับชีวิตประจำวันเฉพาะคนบางกลุ่มเท่านั้น ปัจจุบัน เมื่อมือถือ มีระบบแผนที่ออนไลน์ การอ่านและเข้าใจแผนที่จึงสร้างประโยชน์ในชีวิตประจำวันมากขึ้น และหากเข้าใจแผนที่มากขึ้น แน่นอนว่าแผนที่จะยิ่งสร้างประโยชน์มากยิ่งๆขึ้น 
    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    เกิดอะไรขึ้นกับข้อมูลที่ได้จากแผนที่กระดาษและแผนที่ดิจิทัลหลากหลายมาตราส่วน เมื่อนำมาใช้วัดตำแหน่ง ทิศทาง ระยะทาง พื้นที่ ความสูง-ต่ำ และความลาดเอียงของพื้นผิวโลก

    อ่านเพิ่มเติม...
  • หากนับเอาประชากรวัยเด็กรวมกับประชากรวัยสูงอายุเป็น ประชากรวัยพึ่งพิง แล้ว

    พบว่าประชากรวัยพึ่งพิงมีถึงร้อยละ 34.19 หรือเกินครึ่งของจำนวนประชากรวัยแรงงานแล้ว

    และเมื่อคำนวณอัตราส่วนพึ่งพิงทางอายุจะเท่ากับ 53 

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ากมอง GIS ในฐานะเครื่องมือแล้ว GIS จะประกอบด้วย Hardware Software Data Information Network Application และ Peopleware หากแต่ผลผลิตของ GIS คือสารสนเทศ (Information) ซึ่งลักษณะเด่นคือ สารสนเทศเชิงพื้นที่ (Spatial Information)

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    การนำข้อมูลในระบบ GIS ที่เป็น Attribute data มาแสดงผลให้เห็นเป็นภาพในแผนที่ สามารถแสดงได้ 4 รูปแบบ คือ

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    เมื่อนำเอาข้อมูลจำนวนประชากรและพื้นที่มามองในมุมของความหนาแน่นและการกระจายตัวของประชากรในจังหวัดเชียงใหม่

     

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •   

    สิ่งที่ปรากฏข้างหน้า...เขาหัวโล้นที่ปรากฏเด่นชัด...ป่าต้นน้ำหายไปไหนเป็นคำถามที่ผุดขึ้นในสมอง

    The prominent feature ahead is a mountain with very few remaining trees. Where has the vanished watershed forest gone?

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

     เมื่อการเพิ่มขึ้น-ลดลงของประชากรในจังหวัดเชียงใหม่ในภาษานักประชากรศาสตร์ถูกอธิบายบนพื้นที่แบบนักภูมิศาสตร์

    อ่านเพิ่มเติม...

ผู้เยี่ยมชม GEO2GIS.com

วันนี้355
เมื่อวานนี้425
สัปดาห์นี้1196
เดือนนี้12130
ทั้งหมด1428350
สมาชิก log in ขณะนี้ 0
Online ขณะนี้ 6

JSN Epic is designed by JoomlaShine.com