การรู้เรื่องลมฟ้าอากาศ เป็นการเรียนรู้สภาพของอากาศในช่วงระยะเวลาหนึ่งซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตาม วัน เวลาและสถานที่ ส่วนการรู้เรื่องภูมิอากาศ ก็เป็นการเรียนรู้สภาพอากาศที่เกิดขึ้นเป็นประจำต่อเนื่อง

Meteorology involves studying the ever-changing atmospheric conditions. In contrast, climatology focuses on studying long-term weather patterns.

อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    หยดน้ำไหลออกมาจากรากต้นไม้ ทางน้ำเล็กๆ ซากใบไม้ทับถมและซับน้ำ กรองน้ำส่งลงพื้นราบ

    Fallen leaves, which absorb and filter water into the flat plains covered droplets cascade from tree roots and small waterways.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ถ้าไม่มีป่า ก็ไม่มีน้ำ ถ้าไม่มีน้ำ ก็ไม่มีอาหาร เพราะป่า เป็นต้นน้ำ ต้นกำเนิดความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งอาหารและทรัพยากรอื่นๆ เราควรรู้และเข้าใจป่า 

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • หลังจากเปลือกโลกยกตัวขึ้นก็เกิดขบวนการกัดเซาะของน้ำมีพัฒนาการแบ่งเป็น 3 ช่วงอายุ

    After the earth's crust uplifts, erosion processes occur, developing into three age stages.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • การรู้เรื่องลมฟ้าอากาศ เป็นการเรียนรู้สภาพของอากาศในช่วงระยะเวลาหนึ่งซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตาม วัน เวลาและสถานที่ ส่วนการรู้เรื่องภูมิอากาศ ก็เป็นการเรียนรู้สภาพอากาศที่เกิดขึ้นเป็นประจำต่อเนื่อง

    Meteorology involves studying the ever-changing atmospheric conditions. In contrast, climatology focuses on studying long-term weather patterns.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ปรากฏการณ์ เอลนีโญ – ลานิญา ถูกพูดถึงบ่อยและมากขึ้น ในฐานะนักภูมิศาสตร์คงต้องอธิบายเพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจอีกครั้ง

    The phenomenon of El Niño-La Niña is increasingly and frequently discussed. As a geographer, it is essential to provide explanations for better understanding once again.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • สำรับมนุษย์แล้ว ไฟเป็นทั้งเพื่อนและศัตรู ทาสและเจ้านาย  ไฟเป็นพลังธรรมชาติ ซึ่งได้ถูกมนุษย์นำมาใช้ประโยชน์

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • เครื่องมือทางภูมิศาสตร์กับสารสนเทศภูมิศาสตร์ เนื้อหาการบรรยายจะเกี่ยวกับหลักการของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในฐานะเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่ถูกบรรจุเนื้อหาไว้ในวิชาเรียนในระดับมัธยมศึกษา

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับพี่ ๆ น้อง ๆ และครูบาอาจารย์ ในฐานะศิษย์เก่าจึงได้นำเสนอความคิดของอดีตข้าราชการสายวิชาการและสายบริหาร

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  ติดตามสถานการณ์ภารกิจช่วยเหลือเด็ก ๆ หายและเริ่มต้นการค้นหา

    อ่านเพิ่มเติม...
ดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งาน
 

ภัยแล้ง ภัยพิบัติในฤดูร้อนของไทย

เหตุการณ์ทางธรรมชาติที่แปรผันไปตามสภาพลมฟ้าอากาศ ภัยแล้งส่วนใหญ่จะเกิดในช่วงเวลาฝนทิ้งช่วงระหว่างเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม และช่วงฤดูแล้ง ซึ่งอาจจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อชุมชน พืชสวนไร่นา เนื่องจากการขาดแคลนน้ำ ดังนั้นปัญหาภัยแล้งปัจจุบันคือ การขาดแคลนน้ำเพื่ออุปโภคบริโภค และทำการเกษตร นอกจากนี้ยังทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม เกิดความเสียสมดุลย์ทางธรรมชาติ ภาวะอากาศแล้งที่เกิดขึ้นสามารถแบ่งการเกิดความแห้งแล้งออกเป็น 3 ระดับคือ

·       สภาวะอากาศแห้งแล้ง (Meteorological  Drought) คือสภาวะที่มีการระเหยของน้ำที่เกินจำนวนที่ได้รับ

·       สภาวะการขาดน้ำ (Hydrological Drought) เป็นสภาวะที่ฝนตกน้อย ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยต่ำกว่าปกติเป็นระยะเวลาต่อเนื่องกันนานจนมีผลกระทบต่อการลดลงของระดับน้ำผิวดิน ระดับน้ำใต้ดิน และการขาดแคลนน้ำเพื่ออุปโภคบริโภคในช่วงฤดูแล้ง

·       สภาวะความแห้งแล้งทางการเกษตร (Agricultural Drought) เป็นภาวะที่เกิดการขาดน้ำสำหรับการเกษตร จนพืชไม่สามารถดึงเอาน้ำมาใช้ได้ ทำให้พืชผลหยุดชะงักการเจริญเติบโตและตายในที่สุด

ภัยแล้ง  ( Drought)  มีสาเหตุจากการมีฝนน้อยกว่าปกติหรือฝนไม่ตกตามฤดูกาลติดต่อกันเป็นเวลานานหรือเรียกว่าฝนทิ้งช่วง (Dry Spell)  ในประเทศไทยพบว่าเกิดภัยแล้งขึ้นเป็นประจำเกือบทุกปี

          สาเหตุของการเกิดภัยแล้งสันนิษฐานไว้ว่าเกิดจาก

1.        การเปลี่ยนแปลงส่วนผสมของชั้นบรรยากาศ ได้แก่ ไอน้ำ คาร์บอนไดออกไซด์และโอโซน  ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติ ของรูปแบบการหมุนเวียนส่วนใหญ่ในชั้นบรรยากาศ

2.        การตัดไม้ทำลายป่า  ทำให้เกิดความแห้งแล้ง และทะเลทรายตามมา ป่าไม้ซึ่งมีอิทธิพลต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของกระแสลม ความชุ่มชื้น ฝน การระบายน้ำบนผิวดิน ทำให้ไม่มีฝนตก จึงเกิดความแห้งแล้งขึ้นแทน

3.        การขาดฝน หรือฝนไม่ตกติดต่อกันเป็นเวลานาน ฝนแล้งเกิดจาก การหมุนเวียนหรือการเปลี่ยนแปลงที่ผิดปกติ ระหว่างบรรยากาศของโลกและมหาสมุทร

4.        การขาดแคลนน้ำในดิน

สรุปได้ว่า  ภัยแล้งที่เกิดขึ้นมีสาเหตุ 2 สาเหตุใหญ่ๆ คือ

          1). ภัยแล้งจากธรรมชาติ เช่น ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล

          2). ภัยแล้งจากการกระทำของมนุษย์  จากการตัดไม้ทำลายป่า การใช้ทรัพยากรทางน้ำอย่างฟุ่มเฟือย การเพิ่มปริมาณรถทำให้เกิดสาเหตุให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของชั้นบรรยากาศ อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น

          สภาวะของความแห้งแล้งที่เกิดขึ้นในประเทศไทยไม่รุนแรงมากเป็นภัยแล้งที่เบา เกิดจากฝนตกน้อยในฤดูฝน บางครั้งฝนแล้งมีบริเวณกว้าง ขาดแคลนน้ำ ส่งผลต่อการกสิกรรม  อุตสาหกรรม  แต่ไม่เกิดขึ้นบ่อยนักในประเทศไทย

วิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงต่อสภาวะภัยแล้ง มีปัจจัยที่ควรนำมาวิเคราะห์ คือ

1.       ปริมาณน้ำฝนรวม

2.       จำนวนวันที่ฝนตก 

3.       เขตชลประทาน 

4.       แหล่งน้ำใต้ดิน 

5.       พืชปกคลุม 

  •  

    หลังจากทดลองมาหลายรูปแบบหลายวิธีการเราจึงพบผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่ปลอดภัยกับครอบครัวซึ่งมีทั้งเด็กและคนชรา มีทั้งแชมพู น้ำยาล้างจาน และน้ำยาซักผ้า

    After experimenting with various formats and methods, we have identified a safe cleaning product suitable for families, catering to both children and older adults. The product range includes shampoo, dishwashing liquid, and laundry detergent.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • มนุษย์พยายามบอกเล่าปรากฏการณ์บนพื้นพิภพเป็นภาษา Cartographic Map

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • มาตราส่วนจะสัมพันธ์ในการทำ Generalization และ Symbolization ในแผนที่

    The scale plays a crucial role in the processes of generalization and symbolization in cartography.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • การสำรวจข้อมูลภาคสนามโดยใช้แผนที่เพื่อปรับปรุงข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จำเป็นต้องพิจารณากำหนดชนิดของคุณลักษณะข้อมูล

    Improving map data in geographic information systems with field data surveys using maps. We need consideration to determine the type of data feature.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • หลักการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System : GIS) เนื้อหาการบรรยายจะเกี่ยวกับหลักการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ การสร้างและจัดการข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลตามแนวคิดทางภูมิศาสตร์

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • การดำเนินการศึกษาใช้สภาพทางกายภาพของที่ตั้งอาคารเป็นเครื่องชี้ระดับความเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัย ใช้ GIS Multi Criteria Modeling Delphi Technique  เป็นเครื่องมือประกอบการศึกษา

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  GIS เป็นเพียงเครื่องมือ หากไม่รู้และไม่เข้าใจการใช้เครื่องมือ ก็ไม่มีประโยชน์ โดยเฉพาะถ้าไม่รู้จัก "ศาสตร์" ที่อยู่เบื้องหลังเทคโนโลยีแล้วนี้ เครื่องมือก็จะถูกใช้อย่างไม่คุ้มค่า การใช้งาน GIS ก็จะทำได้เพียงเพื่อตอบคำถามว่า อะไร อยู่ที่ไหน เท่าไร

    อ่านเพิ่มเติม...
  •   

    สิ่งที่ปรากฏข้างหน้า...เขาหัวโล้นที่ปรากฏเด่นชัด...ป่าต้นน้ำหายไปไหนเป็นคำถามที่ผุดขึ้นในสมอง

    The prominent feature ahead is a mountain with very few remaining trees. Where has the vanished watershed forest gone?

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    บทความชุด มองข้อมูลประชากรในมิติของพื้นที่กับเวลาของนักภูมิศาสตร์คงบอกเล่ามุมมองของนักภูมิศาสตร์ได้ชัดขึ้น

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • นักท่องเที่ยว แรงงานต่างด้าว ในเมืองเชียงใหม่ 

    Travelers and foreign workers in the city of Chiang Mai.

    อ่านเพิ่มเติม...

ผู้เยี่ยมชม GEO2GIS.com

วันนี้218
เมื่อวานนี้501
สัปดาห์นี้2292
เดือนนี้10591
ทั้งหมด1196800
สมาชิก log in ขณะนี้ 0
Online ขณะนี้ 3

JSN Epic is designed by JoomlaShine.com