เหตุการณ์ทางธรรมชาติที่แปรผันไปตามสภาพลมฟ้าอากาศ ภัยแล้งส่วนใหญ่เกิดในเวลาฝนทิ้งช่วงเดือนมิถุนายน

อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    หยดน้ำไหลออกมาจากรากต้นไม้ ทางน้ำเล็กๆ ซากใบไม้ทับถมและซับน้ำ กรองน้ำส่งลงพื้นราบ

    Fallen leaves, which absorb and filter water into the flat plains covered droplets cascade from tree roots and small waterways.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ถ้าไม่มีป่า ก็ไม่มีน้ำ ถ้าไม่มีน้ำ ก็ไม่มีอาหาร เพราะป่า เป็นต้นน้ำ ต้นกำเนิดความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งอาหารและทรัพยากรอื่นๆ เราควรรู้และเข้าใจป่า 

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • มวลสารที่อัดแน่นอยู่ระเบิดออกอย่างรุนแรง (Big Bang) ทำให้เกิดระบบสุริยจักรวาล

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ฤดูกาลของประเทศไทย: ปัจจัยเบื้องหลังสามฤดูกาลของประเทศไทย – ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว

    Thailand season: The factor behind the three seasons of Thailand – summer, rainy and winter seasons

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • การรู้เรื่องลมฟ้าอากาศ เป็นการเรียนรู้สภาพของอากาศในช่วงระยะเวลาหนึ่งซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตาม วัน เวลาและสถานที่ ส่วนการรู้เรื่องภูมิอากาศ ก็เป็นการเรียนรู้สภาพอากาศที่เกิดขึ้นเป็นประจำต่อเนื่อง

    Meteorology involves studying the ever-changing atmospheric conditions. In contrast, climatology focuses on studying long-term weather patterns.

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานครได้พัฒนาระบบ GIS จนกระทั้งสามารถสนับสนุนงานของ กทม. ได้มากมายในปัจจุบัน

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • โคลนถล่มที่ตำบลน้ำก้อ และอีกหลายพื้นที่ จนมาถึงการเกิดน้ำป่าทำความเสียหายให้กับปายและขุนน่าน ในเดือน สิงหาคม 2559 ...บทเรียนซ้ำ ๆ โมเดลเดิมๆ ช่างน่าเบื่อจังเลย 

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ภูมิศาสตร์เมือง Urban Geography (GEO 3409)” สอนที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ เนื้อหาครอบคลุมการศึกษาวิชาภูมิศาสตร์เมือง ความเป็นเมืองและกระบวนการกลายเป็นเมือง การวัดค่าความเป็นเมือง การจำแนกประเภทของเมือง เขตอิทธิพลเมือง แหล่งกลาง ระบบการใช้ที่ดินในเขตชุมชนเมือง

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ระดับน้ำลด เข้าถึงและพบเด็ก ๆ

    อ่านเพิ่มเติม...
ดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งาน
 

งานแผนที่ในระบบ GIS ความคลาดเคลื่อนตลอดกาล 

แผนที่เป็นตัวแทนของข้อมูลเชิงพื้นที่ที่ถูกจัดเก็บไว้ในระบบ GIS ในขบวนการของระบบ GIS ที่ มีการใช้งานแผนที่ ประกอบด้วยขบวนการได้มาของข้อมูล การประมวลผล การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงพื้นที่ ในขบวนการที่เกี่ยวข้องกับการประมวลผลด้วยสมการหรือสูตรทางคณิตศาสตร์ตาม Algorithms ที่กำหนดไว้ ย่อมมีโอกาสที่จะเกิดความคลาดเคลื่อนเสมอ ผู้ใช้ระบบ GIS จึงจำเป็นต้องตระหนักและรับรู้ค่าความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้น ทั้งนี้เพื่อที่จะเข้าใจว่าผลลัพธ์ที่ได้จากระบบ GIS มีความคลาดเคลื่อนในระดับของการยอมรับได้ สำหรับการนำไปประกอบการปฏิบัติงานหรือตัดสินใจได้หรือไม่ระดับใด

จากพื้นฐานแนวคิดทางภูมิศาสตร์สู่ระบบ GIS

                  ระบบ GIS มี การพัฒนามาจากพื้นฐานแนวคิดทางภูมิศาสตร์ เนื่องจากภูมิศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่มีมุมมองเพื่อศึกษาทางพื้นที่โดยการผสมผสานแนวความคิด กระบวนการจัดการ กระบวนการการกระจายตัวทางพื้นที่ วิวัฒนาการทางกายภาพ ชีวภาพและวัฒนธรรม รวมทั้งปฏิสัมพันธ์และการจัดระเบียบทางพื้นที่เพื่อมุ่งหาสาเหตุที่เกิดและ การจัดการปรากฏการณ์บนพื้นโลกอีกด้วย

                 ในทางภูมิศาสตร์ ถ้าจะอธิบายความหมายของคำว่า GIS หรือ Geographic Information System แล้ว David Martin ได้แยกอธิบายคำว่า GIS ไว้อย่างชัดเจนว่า

          Geographic เป็น ส่วนของภาพที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ของข้อมูลที่อ้างถึงตำแหน่งบนพื้น โลกซึ่งมีการวัดหรือการคำนวณทางด้านพิกัดทางภูมิศาสตร์โดยเทียบเป็นมาตรา ส่วน

          Information เป็น ส่วนของการใช้ระบบถามคำถามหรือค้นหาคำตอบจากฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์ สารสนเทศที่ได้จะแสดงสภาพภูมิศาสตร์บนพื้นโลก ซึ่งนำมาแสดงในรูปของข้อมูลที่หลากหลาย ข้อมูลเหล่านั้นจะถูกนำมารวบรวมจัดการในลักษณะของรูปจำลองที่เกิดขึ้นบนพื้น โลก

          System เป็นองค์ประกอบที่นำมาจัดการค้นหาคำตอบที่ต้องการรู้ ซึ่ง GIS ไม่ จำเป็นต้องเป็นระบบอัตโนมัติเท่านั้น ในองค์ประกอบเหล่านั้นควรจะผสมผสานกันระหว่างขบวนการนำเข้า จัดเก็บ จัดการและนำเสนอข้อมูลทางภูมิศาสตร์ แต่เนื่องจากระบบอัตโนมัติ ได้แก่ระบบคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว GIS จึงมีการพัฒนาให้เป็นระบบอัตโนมัติด้วยเช่นกัน

          โดยสรุประบบ GIS จะ เกี่ยวข้องกับข้อมูลที่อ้างถึงตำแหน่งที่อ้างอิงมาตราส่วนซึ่งแสดงในรูปของ แผนที่ และมีการจัดการให้อยู่ในรูปของฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์ โดยมีขบวนการการนำเข้า จัดเก็บ จัดการและนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบซึ่งปัจจุบันเป็นระบบอัตโมัติหรือเป็น เทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์นั้นเอง

Mitchell,Bruce ได้กล่าวถึงระบบ GIS ว่า เป็นรากฐานของการวางแผนภูมิภาคและการวางแผนจัดการทรัพยากร การผสมผสานการวิเคราะห์พื้นที่ ทางภูมิภาค เข้ากับการวิเคราะห์เชิงนิเวศน์วิทยา ในการวิเคราะห์ทางพื้นที่นักภูมิศาสตร์มักจะมีคำถามที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่  4 ประการคือ

1.      นักภูมิศาสตร์เกี่ยวข้องกับการจัดโครงสร้างทางกายภาพของพื้นที่อย่างไร

2.      มนุษย์มีความสัมพันธ์กับพื้นที่อย่างไร

3.      มนุษย์มีการจัดการสังคมของพวกเขาในพื้นที่อย่างไร

      4.      แนวคิดเชิงพื้นที่และการใช้ประโยชน์พื้นที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง

รายละเอียด

  •  

    หลังจากทดลองมาหลายรูปแบบหลายวิธีการเราจึงพบผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่ปลอดภัยกับครอบครัวซึ่งมีทั้งเด็กและคนชรา มีทั้งแชมพู น้ำยาล้างจาน และน้ำยาซักผ้า

    After experimenting with various formats and methods, we have identified a safe cleaning product suitable for families, catering to both children and older adults. The product range includes shampoo, dishwashing liquid, and laundry detergent.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • การสำรวจข้อมูลภาคสนามโดยใช้แผนที่เพื่อปรับปรุงข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จำเป็นต้องพิจารณากำหนดชนิดของคุณลักษณะข้อมูล

    Improving map data in geographic information systems with field data surveys using maps. We need consideration to determine the type of data feature.

    อ่านเพิ่มเติม...
     

  • ตามความหมายของแผนที่ แผนที่ประกอบด้วย 1) การถ่ายทอดลักษณะของพื้นผิวโลกลงสู่พื้นราบ 2) การย่อส่วน 3) สัญลักษณ์ การอ่านหรือบันทึกข้อมูลลงบนแผนที่จึงควรเข้าใจทั้ง 3 ส่วนหลักเป็นสำคัญ
    ดูคำอธิบายความหมายของแผนที่ได้ที่ https://www.youtube.com/watch?v=wCz3Qlwmd28&t=118s

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • การวัดพื้นที่บนแผนที่มีหลายวิธีการ แต่ละวิธีมีความเหมาะสมและได้ผลถูกต้องแม่นยำแตกต่างกันไป ทั้งนี้จะขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง ในการวัดพื้นที่บนแผนที่เบื้องต้น ผู้ที่วัดขนาดพื้นที่ต้องเข้าใจ

    อ่านเพิ่มเติม...
  • เอกสารการนำเสนอประกอบการสอนวิชา “GE737 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS) เนื้อหาการบรรยายที่มาของระบบ GIS Spatial data Database การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • เมื่อมีเป้าหมายการนำข้อมูลในระบบ GIS ไปใช้ประโยชน์แล้ว การออกแบบฐานข้อมูล ทั้งในส่วนที่เป็น Graphic และ Attribute จำเป็นต้องเข้าใจคุณสมบัติของพื้นที่ ซึ่งสามารถเรียนรู้และศึกษาจากแนวคิดของนักภูมิศาสตร์

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • เมื่อนำหลักการพื้นฐานของ Network Analysis มาเป็นโปรแกรมการวิเคราะห์เส้นทาง มือถือจึงแนะนำเส้นทางเพื่อการทางเราได้

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    เมื่อนำเอาข้อมูลจำนวนประชากรและพื้นที่มามองในมุมของความหนาแน่นและการกระจายตัวของประชากรในจังหวัดเชียงใหม่

     

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    ประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปจะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ นับตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2550 ปี พ.ศ. 2555 จนกระทั้งปี พ.ศ. 2559

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

     เมื่อการเพิ่มขึ้น-ลดลงของประชากรในจังหวัดเชียงใหม่ในภาษานักประชากรศาสตร์ถูกอธิบายบนพื้นที่แบบนักภูมิศาสตร์

    อ่านเพิ่มเติม...

ผู้เยี่ยมชม GEO2GIS.com

วันนี้229
เมื่อวานนี้522
สัปดาห์นี้2829
เดือนนี้1790
ทั้งหมด1200972
สมาชิก log in ขณะนี้ 0
Online ขณะนี้ 4

JSN Epic is designed by JoomlaShine.com