ภัย พิบัติจากพายุ ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นทางตอนใต้ของประเทศเนื่องจากอยู่ใกล้ทะเล พายุที่ก่อให้เกิดความเสียหาย

อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    หยดน้ำไหลออกมาจากรากต้นไม้ ทางน้ำเล็กๆ ซากใบไม้ทับถมและซับน้ำ กรองน้ำส่งลงพื้นราบ

    Fallen leaves, which absorb and filter water into the flat plains covered droplets cascade from tree roots and small waterways.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ถ้าไม่มีป่า ก็ไม่มีน้ำ ถ้าไม่มีน้ำ ก็ไม่มีอาหาร เพราะป่า เป็นต้นน้ำ ต้นกำเนิดความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งอาหารและทรัพยากรอื่นๆ เราควรรู้และเข้าใจป่า 

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  ประเทศไทยอยู่ในกลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ระหว่างละติจูดที่ 5 ถึง 12 องศาเหนือ และลองจิจูด 97 ถึง 106 องศาตะวันออก มีเนื้อที่ประมาณ 513115 ตารางกิโลเมตร

    อ่านเพิ่มเติม...
  • การรู้เรื่องลมฟ้าอากาศ เป็นการเรียนรู้สภาพของอากาศในช่วงระยะเวลาหนึ่งซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตาม วัน เวลาและสถานที่ ส่วนการรู้เรื่องภูมิอากาศ ก็เป็นการเรียนรู้สภาพอากาศที่เกิดขึ้นเป็นประจำต่อเนื่อง

    Meteorology involves studying the ever-changing atmospheric conditions. In contrast, climatology focuses on studying long-term weather patterns.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ภัย พิบัติจากพายุ ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นทางตอนใต้ของประเทศเนื่องจากอยู่ใกล้ทะเล พายุที่ก่อให้เกิดความเสียหาย

    อ่านเพิ่มเติม...
  • โคลนถล่มที่ตำบลน้ำก้อ และอีกหลายพื้นที่ จนมาถึงการเกิดน้ำป่าทำความเสียหายให้กับปายและขุนน่าน ในเดือน สิงหาคม 2559 ...บทเรียนซ้ำ ๆ โมเดลเดิมๆ ช่างน่าเบื่อจังเลย 

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • สำรับมนุษย์แล้ว ไฟเป็นทั้งเพื่อนและศัตรู ทาสและเจ้านาย  ไฟเป็นพลังธรรมชาติ ซึ่งได้ถูกมนุษย์นำมาใช้ประโยชน์

    อ่านเพิ่มเติม...
  • บทสรุป : ภูมิศาสตร์ศาสตร์ที่ช่วยสนับสนุนภารกิจช่วย 13 ชีวิตติดถ้ำหลวง-ขุนน้ำนางนอน

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ภูมิศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่เป็นรากฐานให้ศาสตร์อื่นๆ เป็นศาสตร์ที่สามารถผสมผสานแนวคิดศาสตร์อื่นๆ มาแสดงเป็นปรากฏการณ์ทางพื้นที่ได้ นักภูมิศาสตร์ใช้เทคนิคการสังเกต การอธิบายภาพความจริง ศึกษาปรากฏการณ์ที่มีความแตกต่าง หลากหลายในมิติของพื้นที่

    อ่านเพิ่มเติม...
ดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งาน
 

สภาพอากาศ (Weather)และภูมิอากาศ (Climate) แตกต่างกันอย่างไร 

เรื่องของอากาศที่ครอบคลุมทั่วพื้นผิวโลก มีการเรียนรู้ การรับรู้ และการศึกษาสภาพบรรยากาศมาช้านาน หลายคนเข้าใจยาก หลายคนเข้าใจแต่อธิบายยาก นั่นไม่ใช่เรื่องสำคัญเท่ากับการรู้โลก จะทำให้รู้เราว่าควรจะทำอย่างไร

สภาพอากาศโดยทั่วไปจะหมายถึง อุณหภูมิ ความชื้น เมฆ หมอก ลม ฝน และทัศนวิสัย การรู้เรื่องลมฟ้าอากาศ (Weather) เป็นการเรียนรู้สภาพของอากาศในช่วงระยะเวลาหนึ่งซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตาม วัน เวลาและสถานที่ เช่น ลมฟ้าอากาศที่กรุงเทพมหานครในวันนี้ อุณหภูมิสูงถึง 40 องศาเซลเซียส ส่วนการรู้เรื่องภูมิอากาศ (Climate) ก็เป็นการเรียนรู้สภาพอากาศที่เกิดขึ้นเป็นประจำต่อเนื่องเป็นเวลานานๆ ภูมิอากาศจึงเป็นสภาพอากาศที่มีค่าปานกลางของแต่ละพื้นที่ เช่น ภูมิอากาศของกรุงเทพมหานครมีอุณหภูมิเฉลี่ย 27 องศาเซลเซียส

อากาศมีความแตกต่างกันเนื่องจากองค์ประกอบ 3 อย่างคือ อุณหภูมิ ความชื้น และความกดอากาศ โดยองค์ประกอบดังกล่าวเกิดจากการได้รับรังสีจากดวงอาทิตย์ และองค์ประกอบทั้งหมดจะแตกต่างกันเนื่องจาก 6 ปัจจัยหลัก คือ

1.       ระดับละติจูด : มีผลต่อการได้รับปริมาณรังสีจากดวงอาทิตย์เนื่องจากแกนของโลกเอียงจากแนวดิ่ง 23 องศา การโคจรรอบดวงอาทิตย์จึงเอียงไปด้วย ขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้หันเข้าหาดวงอาทิตย์สลับกัน ในแต่ละพื้นที่จึงได้รับปริมาณรังสีจากดวงอาทิตย์ไม่เท่ากัน

2.       ความแตกต่างระหว่างพื้นดินและพื้นน้ำ : พื้นดินและพื้นน้ำมีคุณสมบัติที่ต่างกัน มีผลต่อการคายและการดูดความร้อน โดย

2.1    พื้นน้ำจะโปร่งแสง แสงจะส่องผ่านได้ลึก เมื่อได้รับความร้อนจากแสงอาทิตย์ความร้อนจะกระจายออกไปกว้างและลึก ความร้อนส่วนหนึ่งจะถูกใช้สำหรับการระเหยของน้ำจึงทำให้พื้นน้ำร้อนช้ากว่าพื้นดิน ในส่วนที่ความร้อนกระจายไปลึกการคายความร้อนจึงเป็นไปได้ช้า

2.2    พื้นดินจะทึบแสง แสงจะส่องผ่านได้ยาก เมื่อได้รับความร้อนจากแสงอาทิตย์ความร้อนจะกระจายได้น้อย ความร้อนจะอยู่แค่ผิวดิน พื้นดินจึงร้อนเร็วกว่าพื้นน้ำ และคายความร้อนได้เร็วกว่าพื้นน้ำ

3.       ระดับความสูงเหนือระดับน้ำทะเลของพื้นที่ : ชั้นบรรยากาศที่ถัดจากผิวโลกขึ้นไปคือ ชั้นโทรโพสเฟียร์(Troposphere) เป็นชั้นที่อุณหภูมิจะลดลงตามระดับความสูงด้วยอัตรา 6.4 องศาเซลเซียส ต่อ 1 กิโลเมตร ซึ่งเป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิปกติ นั่นคือ อุณหภูมิตามระดับความสูงของพื้นที่เหนือระดับน้ำทะเลจะลดลงไปด้วย

4.       กระแสน้ำในมหาสมุทร เป็นกระแสน้ำที่เรียบชายฝั่งไม่ว่าจะเป็นจากขั้วโลกมาศูนย์สูตร หรือ จากเขตร้อนไปละติจูดสูงก็จะมีผลต่ออุณหภูมิของอากาศบริเวณที่กระแสน้ำไหลผ่านด้วย

5.       ลักษณะภูมิประเทศ มีผลต่ออากาศ เช่น แนวเทือกเขาที่กั่นการเคลื่อนที่ของอากาศจะมีผลต่ออุณหภูมิและความชื้นของอากาศที่อยู่คนละด้านของเทือกเขา

6.       มนุษย์ เป็นผู้สร้างกิจกรรมต่างๆ ที่มีผลกระทบต่ออากาศ ทั้งการใช้สารเคมีที่ทำลายชั้นบรรยากาศ การสร้างโรงงานอุตสาหกรรม การเผาป่า เป็นต้น

 

 

  •  

    หลังจากทดลองมาหลายรูปแบบหลายวิธีการเราจึงพบผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่ปลอดภัยกับครอบครัวซึ่งมีทั้งเด็กและคนชรา มีทั้งแชมพู น้ำยาล้างจาน และน้ำยาซักผ้า

    After experimenting with various formats and methods, we have identified a safe cleaning product suitable for families, catering to both children and older adults. The product range includes shampoo, dishwashing liquid, and laundry detergent.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • เส้นชั้นความสูงเป็นเส้นที่สมมุติที่จะลากผ่านพื้นผิวโลกที่มีระดับความสูงเท่ากัน โดยเส้นชั้นความสูงจะปรากฏทั่วไปในแผนที่ที่ต้องการแสดงภูมิประเทศ หรือเป็นชั้นข้อมูลหนึ่งในโปรแกรมระบบ GIS 

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • หากเป็นผู้ใช้หรือผู้ผลิตแผนที่ต้องรับรู้และเข้าใจรายละเอียดประจำขอบระวาง รายละเอียดประจำขอบระวางที่ดีจะช่วย

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    เมื่อโลกมีลักษณะเป็นทรงกลมคล้ายผลส้ม การทำแผนที่ซึ่งต้องเป็นแผ่นราบใช้พกพา การย่อส่วนและการใช้สัญลักษณ์แสดงสิ่งที่ปรากฏบนพื้นโลกซึ่งต้องการความถูกต้องใกล้เคียงทั้งทิศทาง ระยะทาง รูปร่างและพื้นที่เป็นสิ่งจำเป็นที่นักภูมิศาสตร์ต้องสร้างเส้นโครงแผนที่ขึ้นมา 

    อ่านเพิ่มเติม...
  • นักแผนที่และนักสำรวจจะต้องปรับตัวเมื่อตำแหน่งมือถือปรากฏบนแผนที่และภาพถ่ายจากดาวเทียมในหน้าจอมือถือได้ถูกต้อง

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  กรุงเทพมหานครเป็นหน่วยงานท้องถิ่น มีหน้าที่ในการพัฒนาท้องถิ่นในด้านต่าง ๆตามที่กฎหมายกำหนด งบประมาณหลักที่นำมาใช้ ได้จากการจัดเก็บภาษี 3 ประเภท คือ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้าย

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ราชบัณฑิตยสถาน (2549,258) ให้ความหมายของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System) ว่า ระบบข้อมูลข่าวสารที่เชื่อมโยงกับค่าพิกัดภูมิศาสตร์....." แล้วเข้าใจข้อมูลที่เชื่อมโยงกับค่าพิกัดภูมิศาสตร์ว่าอย่างไร

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ผลกระทบจากพายุฤดูร้อนที่ควรศึกษาและจัดการ

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •   

    สิ่งที่ปรากฏข้างหน้า...เขาหัวโล้นที่ปรากฏเด่นชัด...ป่าต้นน้ำหายไปไหนเป็นคำถามที่ผุดขึ้นในสมอง

    The prominent feature ahead is a mountain with very few remaining trees. Where has the vanished watershed forest gone?

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    บทความชุด มองข้อมูลประชากรในมิติของพื้นที่กับเวลาของนักภูมิศาสตร์คงบอกเล่ามุมมองของนักภูมิศาสตร์ได้ชัดขึ้น

    อ่านเพิ่มเติม...

ผู้เยี่ยมชม GEO2GIS.com

วันนี้43
เมื่อวานนี้542
สัปดาห์นี้2057
เดือนนี้19502
ทั้งหมด1184887
สมาชิก log in ขณะนี้ 0
Online ขณะนี้ 4

JSN Epic is designed by JoomlaShine.com