เหตุการณ์ทางธรรมชาติที่แปรผันไปตามสภาพลมฟ้าอากาศ ภัยแล้งส่วนใหญ่เกิดในเวลาฝนทิ้งช่วงเดือนมิถุนายน

อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    หยดน้ำไหลออกมาจากรากต้นไม้ ทางน้ำเล็กๆ ซากใบไม้ทับถมและซับน้ำ กรองน้ำส่งลงพื้นราบ

    Fallen leaves, which absorb and filter water into the flat plains covered droplets cascade from tree roots and small waterways.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • มวลสารที่อัดแน่นอยู่ระเบิดออกอย่างรุนแรง (Big Bang) ทำให้เกิดระบบสุริยจักรวาล

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • พื้นผิวของประเทศไทย เมื่อแบ่งตามธรณีสัณฐานจะแบ่งได้ 8 ภูมิภาค

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ภัย พิบัติจากพายุ ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นทางตอนใต้ของประเทศเนื่องจากอยู่ใกล้ทะเล พายุที่ก่อให้เกิดความเสียหาย

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • อากาศที่เคลื่อนที่จากบริเวณหนึ่งไปยังอีกบริเวณหนึ่งซึ่งเกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิ ความกดอากาศของ 2 พื้นที่ 

    Wind is the movement of air from one area to another, resulting from temperature differences and air pressure variances between the two regions.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • เครื่องมือทางภูมิศาสตร์กับสารสนเทศภูมิศาสตร์ เนื้อหาการบรรยายจะเกี่ยวกับหลักการของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในฐานะเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่ถูกบรรจุเนื้อหาไว้ในวิชาเรียนในระดับมัธยมศึกษา

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ปัจจัยที่ทําให้เกิดภัยพิบัติดินถล่ม ได้แก่ ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะทางธรณีวิทยาและปฐพีวิทยา ลักษณะการใช้ที่ดิน และลักษณะสภาพภูมิอากาศ

    The factors that cause landslide disasters are topographical features, geological and soil characteristics, land use characteristics, and climate characteristics.

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    เพื่อไม่ให้เนื้อหาที่เตรียมไปบรรยายประกอบการเรียน การสอนวิชา 154108 เสียของ จึงขอนำเอามาเขียนไว้ใน www.GEO2GIS.com โดยจะแบ่งเป็น 5 ตอน

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • สถิติและฐานข้อมูลสาหรับนักบริหาร (Statistics and database for administrators)สอนที่ วิทยาลัยการจัดการเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณ เนื้อหากล่าวถึงภาพรวมงานสถิติและขบวนการดำเนินงาน รวมถึงการนำไปใช้งานสำหรับการบริหารงานในทุกระดับ

    อ่านเพิ่มเติม...

ให้เรตสมาชิก: 5 / 5

ดาวใช้งานดาวใช้งานดาวใช้งานดาวใช้งานดาวใช้งาน
 

พายุ ภัยพิบัติที่มากับฤดูร้อนและฤดูฝนของไทย

ภัย พิบัติจากพายุ ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นทางตอนใต้ของประเทศเนื่องจากอยู่ใกล้ทะเล พายุที่ก่อให้เกิดความเสียหายกับประเทศไทยได้ เท่าที่เคยผ่านมาส่วนใหญ่จะเป็น หย่อมความกดอากาศต่ำ  พายุดีเปรสชั่น และเสียหายมากที่สุดคือ พายุใต้ฝุ่น 

ลักษณะการเกิดพายุ

-        จะมีการก่อตัวในทะเล หรือมหาสมุทร

-        เกิดในช่วง ละติจูด ที่ 8-15  องศา เหนือ-ใต้

-        เกิดทางตะวันตกของมหาสมุทรเป็นส่วนใหญ่

-        จะเคลื่อนที่ จากตะวันออกไป ตะวันตก ตามอิทธิพลของแรงลมสินค้า

องค์ประกอบเสริมที่ทำให้พายุเกิด

-        อุณหภูมิของอากาศที่ปกคลุมเหนือทะเลและมหาสมุทร ต้องสูงประมาณ 80°F (27 °C)

-        อุณหภูมิของน้ำทะเล

-        อิทธิพลความกดอากาศสูง

-        ร่องความกดอากาศต่ำที่พาดผ่าน

-        ในประเทศไทยส่วนมากจะเกิดในช่วง ปลายฤดูร้อน และปลายฤดูฝน (ในช่วง สิงหาคม-พฤศจิกายน)

การที่อุณหภูมิเหนือผิวน้ำทะเลสูง และ อุณหภูมิของน้ำทะเลสูง จะทำให้อากาศอับชื้นอยู่ในระดับน้ำ ก่อให้เกิดความไม่เสถียรภาพของอากาศทำให้ง่ายต่อการเกิดพายุ และจากการที่มีความร้อนแฝงจากการระเหย และถูกคายออก เมื่อมีการควบแน่นเป็นจำนวนมาก พลังงานความร้อนแฝง รวมกับความชื้น จำนวนมากนี้เป็นตัวการที่ก่อให้เกิด Typical cyclone (พายุหมุนเขตร้อน) แรงลมจะพัดเข้าหาศูนย์กลางความกดอากาศต่ำ อากาศจะถูกบีบตัวเข้าหากันและยกตัวสูงขึ้น โดยหมุนทวนเข็มนาฬิกา (เนื่องจากเกิดในซีกโลกเหนือ) ความรุนแรงที่จะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ ความชันของความกดอากาศ ยิ่งชันมากก็จะยิ่งมีความรุนแรงของลมมากขึ้น

ในประเทศไทยมีการเผชิญหน้ากับพายุที่มีกำลังแรงจาก มหาสมุทรโดยตรงน้อยมากเนื่องจาก ที่ตั้งของประเทศมีที่กำบังจากประเทศอื่น แต่จะไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ถ้าพายุลูกนั้นก่อตัวขึ้นในทะเลอ่าวไทย ซึ่งความรุนแรงของพายุอาจก่อให้เกิดภัยพิบัติจากฝนตกหนัก, น้ำท่วม, น้ำบ่าไหลหลาก, แผ่นดินถล่ม, หรือความรุนแรงจากคลื่นสูงและคลื่นซัดฝั่งได้ พื้นที่ที่จะประสบกับภัยตัวนี้ส่วนใหญ่อยู่ทางตอนใต้ของประเทศไทย   และจะเกิดขึ้นพร้อมๆกับ พายุที่มีกำลังลมค่อนข้างแรง

 

ตัวอย่างการเกิดพายุในประเทศไทย

พายุที่พัดผ่านประเทศไทยที่ก่อให้เกิดความเสียหาย แก่พื้นที่มากที่สุดอันหนึ่ง คือ พายุ ใต้ฝุ่นเกย์ ที่พัดผ่านเข้าทาง จ. ชุมพร เมื่อ เดือน พฤศจิกายน ปี พ.. 2532 ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายค่อนข้างรุนแรง

พายุได้มีการก่อตัวขึ้นเมื่อ 07.00 . ของวันที่ 31 .. 2532 จาก หย่อมความกดอากาศต่ำ กำลังแรง ในทะเลจีนใต้ตอนล่าง ห่างจากจังหวัด นราธิวาส ไปทางทิศตะวันออกค่อนข้างไปทางใต้ประมาณ 300  กม. และในเวลาต่อมา ได้เคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ กระทั่งเวลา 7.00 . ของวันที่ 1 .. 2532 ก็ได้เพิ่มความแรงขึ้นกลายเป็นพายุ ดีเปรสชั่นขณะอยู่ห่างจากจังหวัดสงขลา ไปทางทิศตะวันออก ประมาณ 250 กม. พายุดีเปรสชั่นได้เคลื่อนตัวอย่างช้าไปตามแนวตะวันตกเฉียงเหนือ และทวีความรุนแรงขึ้นเป็น พายุโซนร้อน เกย์เมื่อเวลา16.00. ของวันที่ 2 .. 2532  มีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัด พัทลุง ประมาณ 200 กม. มีความเร็วรอบศูนย์กลางประมาณ 65 กม./ ชม. (35 นอต)  พายุโซนร้อน เกย์ได้เปลี่ยนทิศทางไปในแนวทิศเหนือ และเปลี่ยนไปในแนวทิศตะวันตกเฉียงเหนือในเวลาต่อมา เนื่องจากอิทธิพลการแผ่ลิ่มลงมาของความกดอากาศสูงกำลังแรง ทำให้พายุไม่สามารถเคลื่อนตัวไปทางเหนือได้ และเปลี่ยนทิศทางในที่สุด

เมื่อเวลา 16.00. ในวันที่ 3 .. 2532 พายุได้ทวีความรุนแรงขึ้นเป็นพายุใต้ฝุ่นเกย์โดยมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะสมุย 120 กม. มีความเร็วรอบจุดศูนย์กลางประมาณ 120กม./ชม. (65 นอต) และเคลื่อนตัวในแนวตะวันตกเฉียงเหนือ ต่อมาในตอนเช้า ของวันที่ 4 .. 2532 พายุได้ขึ้นฝั่งที่อำเภอ ประทิว จังหวัด ชุมพร ในเวลา 10.30 . มีศูนย์กลางอยู่ที่ อำเภอ ประทิว จังหวัด ชุมพร และมีความเร็วสูงสุดใกล้จุดศูนย์กลางประมาณ 120 กม./ชม. พายุนี้เมื่อขึ้นฝั่งได้อ่อนกำลังลงเป็นพายุโซนร้อน และเคลื่อนที่ผ่านประเทศไทยไปยังประเทศพม่าในแนวทิศตะวันตกและลงฝั่งทะเลอันดามัน ในวันที่ 4 .. 2532 เวลา 16.00 .

จากเส้นทางการเคลื่อนตัวของพายุ ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมาก ทั้งจากแรงลม และปริมาณน้ำฝน มีบ้านเรือนถูกลมพัดพัง เรือประมงเสียหายและอับปางจากแรงลมพายุทำให้เกิดคลื่นสูงและรุนแรง พื้นที่เพาะปลูกถูกน้ำท่วมเสียหาย ถือว่าเป็นภัยพิบัติที่มีความรุนแรงอันหนึ่งของประเทศไทย

  •  

    หลังจากทดลองมาหลายรูปแบบหลายวิธีการเราจึงพบผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่ปลอดภัยกับครอบครัวซึ่งมีทั้งเด็กและคนชรา มีทั้งแชมพู น้ำยาล้างจาน และน้ำยาซักผ้า

    After experimenting with various formats and methods, we have identified a safe cleaning product suitable for families, catering to both children and older adults. The product range includes shampoo, dishwashing liquid, and laundry detergent.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • การสำรวจข้อมูลภาคสนามโดยใช้แผนที่เพื่อปรับปรุงข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จำเป็นต้องพิจารณากำหนดชนิดของคุณลักษณะข้อมูล

    Improving map data in geographic information systems with field data surveys using maps. We need consideration to determine the type of data feature.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • เมื่อผู้ใช้แผนที่กำหนดจุดยืนบนแผนที่แล้วต้องการเห็นภูมิประเทศข้างหน้าในแนวขวางเพื่อต้องการรู้ความสูงต่ำของภูมิประเทศ เห็นการบดบังสายตา เห็นความลาดชัน เนินหุบเขา และร่องน้ำในลักษณะของภาพหน้าตัด ซึ่งโปรแกรมด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ชุด 3 D สามารถทำได้ง่าย รวดเร็ว หากแต่เราไม่สามารถหาโปรแกรมและข้อมูลที่อยู่ในคอมพิวเตอร์ได้ตลอดเวลา

     

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • แผนที่กระดาษยังเป็นแผนที่ที่มีประสิทธิภาพมาก เนื่องจากข้อจำกัดของแผนที่ในระบบคอมพิวเตอร์

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  GIS เป็นเพียงเครื่องมือ หากไม่รู้และไม่เข้าใจการใช้เครื่องมือ ก็ไม่มีประโยชน์ โดยเฉพาะถ้าไม่รู้จัก "ศาสตร์" ที่อยู่เบื้องหลังเทคโนโลยีแล้วนี้ เครื่องมือก็จะถูกใช้อย่างไม่คุ้มค่า การใช้งาน GIS ก็จะทำได้เพียงเพื่อตอบคำถามว่า อะไร อยู่ที่ไหน เท่าไร

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    เมื่อปรากฏการณ์บนพื้นโลกถูกแสดงเป็นแผนที่ทั้งในรูป Hard Copy (กระดาษ, แผ่นผ้า, พลาสติก ฯลฯ) และ Soft Copy (Digital Map) ปัจจุบันเราจะรับรู้ว่ามีการจัดเก็บในระบบ GIS ในรูป Feature ที่เป็น Graphic data และ Attribute data  

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    การนำข้อมูลในระบบ GIS ที่เป็น Attribute data มาแสดงผลให้เห็นเป็นภาพในแผนที่ สามารถแสดงได้ 4 รูปแบบ คือ

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    บทความชุด มองข้อมูลประชากรในมิติของพื้นที่กับเวลาของนักภูมิศาสตร์คงบอกเล่ามุมมองของนักภูมิศาสตร์ได้ชัดขึ้น

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    ประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปจะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ นับตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2550 ปี พ.ศ. 2555 จนกระทั้งปี พ.ศ. 2559

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •   

    สิ่งที่ปรากฏข้างหน้า...เขาหัวโล้นที่ปรากฏเด่นชัด...ป่าต้นน้ำหายไปไหนเป็นคำถามที่ผุดขึ้นในสมอง

    The prominent feature ahead is a mountain with very few remaining trees. Where has the vanished watershed forest gone?

    อ่านเพิ่มเติม...

ผู้เยี่ยมชม GEO2GIS.com

วันนี้263
เมื่อวานนี้497
สัปดาห์นี้2119
เดือนนี้3624
ทั้งหมด1432057
สมาชิก log in ขณะนี้ 0
Online ขณะนี้ 4

JSN Epic is designed by JoomlaShine.com