การรู้เรื่องลมฟ้าอากาศ เป็นการเรียนรู้สภาพของอากาศในช่วงระยะเวลาหนึ่งซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตาม วัน เวลาและสถานที่ ส่วนการรู้เรื่องภูมิอากาศ ก็เป็นการเรียนรู้สภาพอากาศที่เกิดขึ้นเป็นประจำต่อเนื่อง

Meteorology involves studying the ever-changing atmospheric conditions. In contrast, climatology focuses on studying long-term weather patterns.

อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    หยดน้ำไหลออกมาจากรากต้นไม้ ทางน้ำเล็กๆ ซากใบไม้ทับถมและซับน้ำ กรองน้ำส่งลงพื้นราบ

    Fallen leaves, which absorb and filter water into the flat plains covered droplets cascade from tree roots and small waterways.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • หลังจากเปลือกโลกยกตัวขึ้นก็เกิดขบวนการกัดเซาะของน้ำมีพัฒนาการแบ่งเป็น 3 ช่วงอายุ

    After the earth's crust uplifts, erosion processes occur, developing into three age stages.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • มวลสารที่อัดแน่นอยู่ระเบิดออกอย่างรุนแรง (Big Bang) ทำให้เกิดระบบสุริยจักรวาล

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ปรากฏการณ์ เอลนีโญ – ลานิญา ถูกพูดถึงบ่อยและมากขึ้น ในฐานะนักภูมิศาสตร์คงต้องอธิบายเพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจอีกครั้ง

    The phenomenon of El Niño-La Niña is increasingly and frequently discussed. As a geographer, it is essential to provide explanations for better understanding once again.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • อากาศที่เคลื่อนที่จากบริเวณหนึ่งไปยังอีกบริเวณหนึ่งซึ่งเกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิ ความกดอากาศของ 2 พื้นที่ 

    Wind is the movement of air from one area to another, resulting from temperature differences and air pressure variances between the two regions.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • เครื่องมือทางภูมิศาสตร์กับสารสนเทศภูมิศาสตร์ เนื้อหาการบรรยายจะเกี่ยวกับหลักการของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในฐานะเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่ถูกบรรจุเนื้อหาไว้ในวิชาเรียนในระดับมัธยมศึกษา

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • สำรับมนุษย์แล้ว ไฟเป็นทั้งเพื่อนและศัตรู ทาสและเจ้านาย  ไฟเป็นพลังธรรมชาติ ซึ่งได้ถูกมนุษย์นำมาใช้ประโยชน์

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ภูมิศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่เป็นรากฐานให้ศาสตร์อื่นๆ เป็นศาสตร์ที่สามารถผสมผสานแนวคิดศาสตร์อื่นๆ มาแสดงเป็นปรากฏการณ์ทางพื้นที่ได้ นักภูมิศาสตร์ใช้เทคนิคการสังเกต การอธิบายภาพความจริง ศึกษาปรากฏการณ์ที่มีความแตกต่าง หลากหลายในมิติของพื้นที่

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับพี่ ๆ น้อง ๆ และครูบาอาจารย์ ในฐานะศิษย์เก่าจึงได้นำเสนอความคิดของอดีตข้าราชการสายวิชาการและสายบริหาร

    อ่านเพิ่มเติม...
ดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งาน
 

สารบัญ

ประชากรวัยพึ่งพิง (วัยเด็กรวมกับวัยสูงอายุ)

 

จากรูปที่ 7 แสดงจำนวนประชากรวัยพึ่งพิงแต่ละจังหวัดของประเทศไทย พบว่าจังหวัดที่มีประชากรวัยพึ่งพิงจำนวนมากที่สุด คือ กรุงเทพมหานคร รองลงมาคือ นครราชสีมา อุบลราชธานี เชียงใหม่ ขอนแก่น และจังหวัดอื่น ๆ ตามลำดับ เมื่อพิจารณาการกระจายและกระจุกตัวของข้อมูลในพื้น พบว่ากลุ่มจังหวัดที่มีจำนวนประชากรวัยพึ่งพิงจำนวนมาก จะมีเพียงกลุ่มจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4 จังหวัด(นครราชสีมา บุรีรัมย์ ขอนแก่น และอุดรธานี)เท่านั้นที่กระจุกตัวต่อเนื่อง 

สำหรับอันดับของจำนวนประชากรวัยพึ่งพิงจังหวัดต่าง ๆ พบว่ากลุ่มที่ประชากรวัยพึ่งพิงจำนวนมากส่วนใหญ่จะอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดย 10 อันดับแรก ประกอบด้วย 

หากพิจารณาจำนวนประชากรวัยพึ่งพิงโดยเทียบเป็นร้อยละกับจำนวนประชากรทั้งหมดของจังหวัดแล้วนำข้อมูลมาจัดกลุ่มเป็น 3 กลุ่มโดยให้กลุ่มที่มีค่าข้อมูลใกล้เคียงกันอยู่ในกลุ่มเดียวกันตามรูปที่ 8 จะพบว่ากลุ่มที่มีค่าร้อยละของจำนวนประชากรวัยพึ่งพิงเปรียบเทียบกับจำนวนประชากรทั้งหมดจะมี 3 กลุ่มใหญ่ในภาคเหนือ ภาคกลางและภาคใต้ นอกจากนั้นจะกระจายตัวออกไปไม่เกาะกลุ่มชัดเจน ได้แก่ จังหวัดนครนายก สมุทรสงคราม นครศรีธรรมราช พัทลุง  

อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาจำนวนประชากรวัยเด็ก วัยสูงอายุ วัยแรงงาน หรือวัยพึ่งพิงก็ตาม ลักษณะการเกิดการมีอยู่ของจำนวนประชากรในแต่ละพื้นที่หากพิจารณาให้ความสำคัญของประชากรแต่ละกลุ่มในแต่ละประเด็นแล้ว (เช่น การให้ความสำคัญต่อประชากรวัยสูงอายุเนื่องจากการเข้าสูงสังคมผู้สูงอายุ) คงต้องมีข้อมูล หลักเกณฑ์ต่าง ๆ หลักกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับมาพิจารณาประกอบอีกมากมาย ซึ่งในมุมนักภูมิศาสตร์แล้ว การนำเสนอข้อเท็จจริงเชื่อมโยงกับพื้นที่ก็เป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยทำให้เกิดมุมมองและแง่คิดที่ชัดเจนขึ้นในอีกมิติหนึ่ง

อนึ่ง เมื่อพิจารณาให้ความสำคัญของประชากรแต่ละกลุ่มในแต่ละประเด็นและเจาะลึกลงไปในแต่ละพื้นที่แล้ว ในมิติทางภูมิศาสตร์คงต้องมีการนำเสนอข้อมูลด้านสภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ การตั้งถิ่นฐาน ตลอดจนมิติทางสังคมอื่นๆ ตามเวลาที่เปลี่ยนแปลงซึ่งจะได้นำเสนอในตอนต่อ ๆ ไป

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

  •  

    หลังจากทดลองมาหลายรูปแบบหลายวิธีการเราจึงพบผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่ปลอดภัยกับครอบครัวซึ่งมีทั้งเด็กและคนชรา มีทั้งแชมพู น้ำยาล้างจาน และน้ำยาซักผ้า

    After experimenting with various formats and methods, we have identified a safe cleaning product suitable for families, catering to both children and older adults. The product range includes shampoo, dishwashing liquid, and laundry detergent.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • จัดเก็บข้อมูลภาคสนามด้วยแผนที่เพื่อจัดทำและนำเสนอข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จำเป็นต้องพิจารณากำหนดชนิดของคุณลักษณะข้อมูล (Feature Type)

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    เมื่อโลกมีลักษณะเป็นทรงกลมคล้ายผลส้ม การทำแผนที่ซึ่งต้องเป็นแผ่นราบใช้พกพา การย่อส่วนและการใช้สัญลักษณ์แสดงสิ่งที่ปรากฏบนพื้นโลกซึ่งต้องการความถูกต้องใกล้เคียงทั้งทิศทาง ระยะทาง รูปร่างและพื้นที่เป็นสิ่งจำเป็นที่นักภูมิศาสตร์ต้องสร้างเส้นโครงแผนที่ขึ้นมา 

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    เกิดอะไรขึ้นกับข้อมูลที่ได้จากแผนที่กระดาษและแผนที่ดิจิทัลหลากหลายมาตราส่วน เมื่อนำมาใช้วัดตำแหน่ง ทิศทาง ระยะทาง พื้นที่ ความสูง-ต่ำ และความลาดเอียงของพื้นผิวโลก

    อ่านเพิ่มเติม...
  • เมื่อใช้โปรแกรมระบบ GIS การกำหนดประเภทของ Feature จะเริ่มที่การสร้างชั้นข้อมูลซึ่งหลักการควรพิจารณาดังนี้

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    การนำข้อมูลในระบบ GIS ที่เป็น Attribute data มาแสดงผลให้เห็นเป็นภาพในแผนที่ สามารถแสดงได้ 4 รูปแบบ คือ

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ด้วยระบบ GIS สำหรับเมืองขนาดใหญ่ เนื้อหาการบรรยายจะเกี่ยวกับหลักการวิเคราะห์เบื้องต้น หลักการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ แนวคิดและเทคนิคการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ด้วยระบบ GIS

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    ประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปจะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ นับตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2550 ปี พ.ศ. 2555 จนกระทั้งปี พ.ศ. 2559

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • นักท่องเที่ยว แรงงานต่างด้าว ในเมืองเชียงใหม่ 

    Travelers and foreign workers in the city of Chiang Mai.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

     เมื่อการเพิ่มขึ้น-ลดลงของประชากรในจังหวัดเชียงใหม่ในภาษานักประชากรศาสตร์ถูกอธิบายบนพื้นที่แบบนักภูมิศาสตร์

    อ่านเพิ่มเติม...

ผู้เยี่ยมชม GEO2GIS.com

วันนี้357
เมื่อวานนี้455
สัปดาห์นี้2411
เดือนนี้5375
ทั้งหมด1466302
สมาชิก log in ขณะนี้ 0
Online ขณะนี้ 5

JSN Epic is designed by JoomlaShine.com