นักท่องเที่ยว แรงงานต่างด้าว ในเมืองเชียงใหม่ 

Travelers and foreign workers in the city of Chiang Mai.

อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    หยดน้ำไหลออกมาจากรากต้นไม้ ทางน้ำเล็กๆ ซากใบไม้ทับถมและซับน้ำ กรองน้ำส่งลงพื้นราบ

    Fallen leaves, which absorb and filter water into the flat plains covered droplets cascade from tree roots and small waterways.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ภัย พิบัติจากพายุ ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นทางตอนใต้ของประเทศเนื่องจากอยู่ใกล้ทะเล พายุที่ก่อให้เกิดความเสียหาย

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ปรากฏการณ์ เอลนีโญ – ลานิญา ถูกพูดถึงบ่อยและมากขึ้น ในฐานะนักภูมิศาสตร์คงต้องอธิบายเพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจอีกครั้ง

    The phenomenon of El Niño-La Niña is increasingly and frequently discussed. As a geographer, it is essential to provide explanations for better understanding once again.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • โคลนถล่มที่ตำบลน้ำก้อ และอีกหลายพื้นที่ จนมาถึงการเกิดน้ำป่าทำความเสียหายให้กับปายและขุนน่าน ในเดือน สิงหาคม 2559 ...บทเรียนซ้ำ ๆ โมเดลเดิมๆ ช่างน่าเบื่อจังเลย 

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    จากสภาพปัญหาเรื่องการประสานสาธารณูปโภคจึงเกิดโครงการทดลองที่นำเอาระบบ GIS มาเป็นเครื่องมือจัดสร้างฐานข้อมูลร่วมกันเพื่อการทำงานร่วมกัน

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับพี่ ๆ น้อง ๆ และครูบาอาจารย์ ในฐานะศิษย์เก่าจึงได้นำเสนอความคิดของอดีตข้าราชการสายวิชาการและสายบริหาร

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ระดับน้ำลด เข้าถึงและพบเด็ก ๆ

    อ่านเพิ่มเติม...

ให้เรตสมาชิก: 5 / 5

ดาวใช้งานดาวใช้งานดาวใช้งานดาวใช้งานดาวใช้งาน
 

 สิ่งที่ต้องเข้าใจ...เมื่อสร้างชั้นข้อมูลอ้างอิงตำแหน่งของแผนที่ฐาน (Base Map) ในระบบ GIS

ภายหลังที่อ่านบทความ การกำหนด Feature Type กับความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับ มาตราส่วนของแผนที่ฐานทำให้รู้จักคำว่า แผนที่ฐาน (Base Map) ซึ่งในการจัดทำแผนที่ในสมัยโบราณแผนที่ฐานก็คือแผนที่ภูมิประเทศซึ่งแสดงข้อมูลลักษณะทางกายภาพ (Physical) และข้อมูลที่เป็นจินตภาพ (Mental Picture ) ทั้งที่เป็นธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น ทางน้ำ  ถนน เส้นชั้นความสูง เขตปกครอง โดยแผนที่ฐานจะเป็นภาพสัญลักษณ์ตำแหน่ง เส้นหรือพื้นที่ที่ใช้ในการอ้างอิงตำแหน่งสำหรับการสร้างข้อมูลอื่นๆ ซึ่งปกติจะเป็นการวาดซ้อนทับแผนที่ฐาน

 

ในการสร้างหรือแก้ไขชั้นข้อมูลในระบบ GIS โดยขบวนการ Head up digitize หรือ การถ่ายโอนข้อมูลค่าพิกัดจากไฟล์หรือเครื่องมืออื่นใดก็ตาม สิ่งที่ต้องระวังและควรรับรู้ก็คือที่มาของแผนที่ฐานที่จะนำไปใช้งานต่อ โดยเฉพาะการใช้งานในการวัด การค้นหาหรือการคำนวณตำแหน่ง ระยะ หรือพื้นที่ก็ตาม เนื่องจากข้อมูลในคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นระบบ Digital การย่อ ขยายเพื่อปรับแก้ข้อมูลทำได้ง่ายแต่คลาดเคลื่อนผิดพลาดตามค่าตั้งต้นที่จัดทำแผนที่ฐานนั้น ๆ เช่น

 

เมื่อต้องการจัดเก็บข้อมูลอาคารที่เป็นหมู่บ้านจัดสรร 50 หลัง (พื้นที่อาคาร 10,000 ตารางเมตร) ลงพื้นที่ว่างในระบบ GIS หากแต่ไม่รู้ว่าแผนที่ฐานที่อยู่ในระบบ GIS มาจากแผนที่มาตราส่วนเท่าไร

วิธีการอาจจะขยายพื้นที่ว่างในระบบ GIS แล้วภาพถ่ายทางอากาศมาตรึงในพื้นที่ว่างนั้น แล้วจึงวาดขอบเขตอาคารซ้อนทับลงไป หรือถ้าไม่มีภาพถ่ายทางอากาศ อาจจะใช้การ Digitize ขอบเขตอาคารซ้อนทับโดยอ้างอิงตำแหน่งใกล้เคียงแบบ หรือหากทำการสำรวจข้อมูลในพื้นที่มาแล้วอาจจะทำการ Digitize ขอบเขตอาคารซ้อนทับโดยวัดระยะเทียบกับระยะในระบบ GIS (อ่านรายละเอียดในหัวข้อ การจัดเก็บข้อมูลภาคสนามด้วยแผนที่เพื่อจัดทำและนำเสนอข้อมูลผ่านระบบ GIS”)

 สิ่งที่เกิดขึ้นคือ หากแผนที่ฐานในระบบ GIS เป็นมาตราส่วนเล็กความคลาดเคลื่อนจะสูงแต่ในระบบคอมพิวเตอร์จะสามารถขยายได้ละเอียดมากจนสามารถวาดหรือ Digitize ขอบเขตอาคารในพื้นที่ว่างได้ แต่ข้อมูลจะผิดพลาดเมื่อนำไปใช้งาน เช่น

หากแผนที่ฐานในระบบ GIS เป็นมาตราส่วน 1 : 50,000 หมายความว่าการนำเข้าข้อมูลแผนที่ฐานครั้งแรกด้วยวิธี Digitize ข้อมูลแผนที่กระดาษ ข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายจากดาวเทียม หรือขบวนการ Vectorization หรือขบวนการอื่นใดก็ตาม ความคลาดเคลื่อนตามระบบหรือคลาดเคลื่อนโดยมนุษย์ย่อมเกิดขึ้นเสมอ หากคลาดเคลื่อนจากตำแหน่งที่ถูกต้องไป 1 มิลลิเมตร หมายถึง คลาดเคลื่อนจากตำแหน่งจริงบนพื้นโลกไป 50,000 มิลลิเมตร หรือ 50 เมตร ซึ่งกว้างใหญ่กว่าอาคารหนึ่งหลัง หากแผนที่ฐานในระบบ GIS เป็นมาตราส่วน 1 : 10,000 คลาดเคลื่อนจากตำแหน่งที่ถูกต้องไป 1 มิลลิเมตร หมายถึง คลาดเคลื่อนจากตำแหน่งจริงบนพื้นโลกไป 10,000 มิลลิเมตร หรือ 10 เมตร ซึ่งก็ยังผิดพลาดมาก แต่ในระบบคอมพิวเตอร์ก็สามารถขยายแผนที่และวาดภาพข้อมูลลงไปในพื้นที่ว่างได้

  •  

    หลังจากทดลองมาหลายรูปแบบหลายวิธีการเราจึงพบผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่ปลอดภัยกับครอบครัวซึ่งมีทั้งเด็กและคนชรา มีทั้งแชมพู น้ำยาล้างจาน และน้ำยาซักผ้า

    After experimenting with various formats and methods, we have identified a safe cleaning product suitable for families, catering to both children and older adults. The product range includes shampoo, dishwashing liquid, and laundry detergent.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • การสำรวจข้อมูลภาคสนามโดยใช้แผนที่เพื่อปรับปรุงข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จำเป็นต้องพิจารณากำหนดชนิดของคุณลักษณะข้อมูล

    Improving map data in geographic information systems with field data surveys using maps. We need consideration to determine the type of data feature.

    อ่านเพิ่มเติม...
     

  • ตามความหมายของแผนที่ แผนที่ประกอบด้วย 1) การถ่ายทอดลักษณะของพื้นผิวโลกลงสู่พื้นราบ 2) การย่อส่วน 3) สัญลักษณ์ การอ่านหรือบันทึกข้อมูลลงบนแผนที่จึงควรเข้าใจทั้ง 3 ส่วนหลักเป็นสำคัญ
    ดูคำอธิบายความหมายของแผนที่ได้ที่ https://www.youtube.com/watch?v=wCz3Qlwmd28&t=118s

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  ในอดีต แผนที่ผูกพันกับชีวิตประจำวันเฉพาะคนบางกลุ่มเท่านั้น ปัจจุบัน เมื่อมือถือ มีระบบแผนที่ออนไลน์ การอ่านและเข้าใจแผนที่จึงสร้างประโยชน์ในชีวิตประจำวันมากขึ้น และหากเข้าใจแผนที่มากขึ้น แน่นอนว่าแผนที่จะยิ่งสร้างประโยชน์มากยิ่งๆขึ้น 
    อ่านเพิ่มเติม...
  • นักแผนที่และนักสำรวจจะต้องปรับตัวเมื่อตำแหน่งมือถือปรากฏบนแผนที่และภาพถ่ายจากดาวเทียมในหน้าจอมือถือได้ถูกต้อง

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • อัตราส่วนพึ่งพิงทางอายุที่สูงขึ้นทุกปีและเกือบทุกจังหวัดเกิดขึ้นจากการเพิ่มขึ้นของประชากรวัยสูงอายุเป็นหลัก ภาระของประชากรวัยแรงงานที่ต้องดูแลวัยพึ่งพิงคงมากจะขึ้น

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  กรุงเทพมหานครเป็นหน่วยงานท้องถิ่น มีหน้าที่ในการพัฒนาท้องถิ่นในด้านต่าง ๆตามที่กฎหมายกำหนด งบประมาณหลักที่นำมาใช้ ได้จากการจัดเก็บภาษี 3 ประเภท คือ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้าย

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    บทความชุด มองข้อมูลประชากรในมิติของพื้นที่กับเวลาของนักภูมิศาสตร์คงบอกเล่ามุมมองของนักภูมิศาสตร์ได้ชัดขึ้น

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    เมื่อนำเอาข้อมูลจำนวนประชากรและพื้นที่มามองในมุมของความหนาแน่นและการกระจายตัวของประชากรในจังหวัดเชียงใหม่

     

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ผลกระทบจากพายุฤดูร้อนที่ควรศึกษาและจัดการ

    อ่านเพิ่มเติม...

ผู้เยี่ยมชม GEO2GIS.com

วันนี้35
เมื่อวานนี้524
สัปดาห์นี้2015
เดือนนี้7459
ทั้งหมด1193668
สมาชิก log in ขณะนี้ 0
Online ขณะนี้ 3

JSN Epic is designed by JoomlaShine.com