ฤดูกาลของประเทศไทย: ปัจจัยเบื้องหลังสามฤดูกาลของประเทศไทย – ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว

Thailand season: The factor behind the three seasons of Thailand – summer, rainy and winter seasons

อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    หยดน้ำไหลออกมาจากรากต้นไม้ ทางน้ำเล็กๆ ซากใบไม้ทับถมและซับน้ำ กรองน้ำส่งลงพื้นราบ

    Fallen leaves, which absorb and filter water into the flat plains covered droplets cascade from tree roots and small waterways.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • มวลสารที่อัดแน่นอยู่ระเบิดออกอย่างรุนแรง (Big Bang) ทำให้เกิดระบบสุริยจักรวาล

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ถ้าไม่มีป่า ก็ไม่มีน้ำ ถ้าไม่มีน้ำ ก็ไม่มีอาหาร เพราะป่า เป็นต้นน้ำ ต้นกำเนิดความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งอาหารและทรัพยากรอื่นๆ เราควรรู้และเข้าใจป่า 

    อ่านเพิ่มเติม...
  • เหตุการณ์ทางธรรมชาติที่แปรผันไปตามสภาพลมฟ้าอากาศ ภัยแล้งส่วนใหญ่เกิดในเวลาฝนทิ้งช่วงเดือนมิถุนายน

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ฤดูกาลของประเทศไทย: ปัจจัยเบื้องหลังสามฤดูกาลของประเทศไทย – ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว

    Thailand season: The factor behind the three seasons of Thailand – summer, rainy and winter seasons

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    จากสภาพปัญหาเรื่องการประสานสาธารณูปโภคจึงเกิดโครงการทดลองที่นำเอาระบบ GIS มาเป็นเครื่องมือจัดสร้างฐานข้อมูลร่วมกันเพื่อการทำงานร่วมกัน

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • เครื่องมือทางภูมิศาสตร์กับสารสนเทศภูมิศาสตร์ เนื้อหาการบรรยายจะเกี่ยวกับหลักการของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในฐานะเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่ถูกบรรจุเนื้อหาไว้ในวิชาเรียนในระดับมัธยมศึกษา

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  ติดตามสถานการณ์ภารกิจช่วยเหลือเด็ก ๆ หายและเริ่มต้นการค้นหา

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • บทสรุป : ภูมิศาสตร์ศาสตร์ที่ช่วยสนับสนุนภารกิจช่วย 13 ชีวิตติดถ้ำหลวง-ขุนน้ำนางนอน

    อ่านเพิ่มเติม...
ดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งาน
 

สารบัญ

ข้อมูลปรากฏการณ์ต่างๆที่พบในแผนที่ไม่ว่าจะเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติหรือมนุษย์สร้างขึ้นก็ตาม ผู้สร้างแผนที่จะออกแบบสัญลักษณ์เป็นรูปภาพ ตัวเลข ตัวอักษรเพื่อแสดงแทนปรากฏการณ์เหล่านั้น ซึ่งผู้ใช้แผนที่ต้องอ่านและแปลความข้อมูลเหล่านั้นจากการมองเห็นทางกายภาพและแปลความจากภูมิความรู้ที่มี อย่างไรก็ตาม ผู้ใช้แผนที่ควรมีความรู้ในเรื่องพื้นฐานคือ ตำแหน่ง ทิศทาง ระยะทาง พื้นที่ ความสูง-ต่ำ และความลาดเอียงของพื้นผิวโลก ซึ่งทั้งหมดจะเกี่ยวข้องกับมาตราส่วนแผนที่และเคยกล่าวไว้ในเรื่อง เส้นโครงแผนที่...สิ่งสำคัญต่อการอ่านและแปลความหมายในแผนที่การอ่านและแปลความหมายในแผนที่ภูมิประเทศ 1:50,000 ตอน 1 การอ่านค่าพิกัด UTM” และ ความสำคัญของขนาดมาตราส่วนแผนที่

โดยข้อเท็จจริงแล้ว นอกจากมาตราส่วนจะหมายถึง อัตราส่วนเปรียบเทียบระหว่างระยะทางในแผนที่กับระยะทางในภูมิประเทศจริง โดยกำหนดให้ระยะทางในแผนที่เป็น 1 หน่วย ตามที่เคยกล่าวไว้ในบทความเรื่อง มาตราส่วนแผนที่ แล้ว สำหรับภาพถ่ายทางอากาศเรายังสามารถหามาตราส่วนได้จากอัตราส่วนเปรียบเทียบระหว่างระยะทางในภาพถ่ายทางอากาศกับระยะทางในภูมิประเทศจริง โดยกำหนดให้ระยะทางในแผนที่เป็น 1 หน่วย หรือหามาตราส่วนได้จากการเปรียบเทียบระยะของความยาวโฟกัสของกล้องถ่ายภาพและความสูงของการบินถ่ายภาพ เช่น

-  หากระยะทางในภาพถ่ายทางอากาศ = 5 เซนติเมตร กับระยะทางในภูมิประเทศจริง = 300 เมตร มาตราส่วนของภาพถ่ายทางอากาศ

จะเท่ากับ 5 : 30,000 หรือ 1 : 6,000

            - หากกล้องถ่ายภาพมีความยาวโฟกัส = 6 นิ้ว เครื่องบินบินสูงจากระดับภูมิประเทศ 2,000 ฟุต มาตราส่วนของภาพถ่ายทางอากาศ

          จะเท่ากับ 0.5 : 2,000  หรือ 1 : 4,000 นั้นเอง

 

จากมาตราส่วนแผนที่บนแผ่นกระดาษและแผนที่ดิจิทัล ความจำเป็นที่ต้องเข้าใจก่อนนำไปใช้งานย่อมแน่นอนว่าการย่อส่วนปรากฏการณ์บนผิวโลกมีจุดมุ่งหมายที่สำคัญคือ ย่อส่วนปรากฏการณ์ลงในแผนที่ให้เหมาะสมต่อการใช้งานแผนที่มาตราส่วนใหญ่-เล็ก เมื่อพิจารณาขนาดกว้าง-ยาวของแผ่นแผนที่ทั้งที่เป็นกระดาษและจอภาพคอมพิวเตอร์ Smart phone ฯลฯ สิ่งที่ต้องเข้าใจคือ

1  เมื่อขนาดกว้างยาวของพื้นที่ที่แสดงแผนที่ (บนแผ่นกระดาษ จอภาพคอมพิวเตอร์ หรือ Smart phone) เท่ากันแล้ว แผนที่มาตราส่วนเล็กจะครอบคลุมพื้นที่หรือปรากฏการณ์บนผิวโลกได้กว้างกว่าแผนที่มาตราส่วนใหญ่

1.1 หากใช้แผนที่บนกระดาษกว้างยาวด้านละ 50 เซนติเมตร แสดงข้อมูลแผนที่มาตราส่วน 1:50,000 หมายความว่า เราสามารถแสดงปรากฏการณ์บนพื้นโลกได้กว้างยาวด้านละ 50 เซนติเมตร X 50,000 = 2,500,000 เซนติเมตร = 25 กิโลเมตร

หรือ แสดงปรากฏการณ์บนพื้นโลกได้ครอบคลุมพื้นที่ 625 ตารางกิโลเมตร

ในขณะที่ใช้แผนที่บนกระดาษกว้างยาวด้านละ 50 เซนติเมตรเหมือนกันแสดงข้อมูลแผนที่มาตราส่วน 1:10,000 หมายความว่า เราสามารถแสดงปรากฏการณ์บนพื้นโลกได้กว้างยาวด้านละ 50 เซนติเมตร X 10,000 = 500,000 เซนติเมตร = 5 กิโลเมตร

หรือ แสดงปรากฏการณ์บนพื้นโลกได้ครอบคลุมพื้นที่ 25 ตารางกิโลเมตร

1.2 หากใช้แผนที่บนจอภาพ Smart phone กว้าง 8 เซนติเมตร ยาว 15 เซนติเมตร แสดงข้อมูลแผนที่มาตราส่วน 1:50,000 หมายความว่า เราสามารถแสดงปรากฏการณ์บนพื้นโลกได้

กว้างด้านละ 8 เซนติเมตร X 50,000 = 400,000 เซนติเมตร = 4 กิโลเมตร

ยาวด้านละ 15 เซนติเมตร X 50,000 = 750,000 เซนติเมตร = 7.5 กิโลเมตร

หรือ แสดงปรากฏการณ์บนพื้นโลกได้ครอบคลุมพื้นที่ 30 ตารางกิโลเมตร

ในขณะที่ใช้หากใช้แผนที่บนจอภาพ Smart phone กว้าง 8 เซนติเมตร ยาว 15 เซนติเมตรเหมือนกันแสดงข้อมูลแผนที่มาตราส่วน 1:10,000 หมายความว่า 

เราสามารถแสดงปรากฏการณ์บนพื้นโลกได้

กว้างด้านละ 8 เซนติเมตร X 10,000 = 80,000 เซนติเมตร = 800 เมตร

ยาวด้านละ 15 เซนติเมตร X 10,000 = 150,000 เซนติเมตร = 1.5 กิโลเมตร

หรือ แสดงปรากฏการณ์บนพื้นโลกได้ครอบคลุมพื้นที่ 1.2 ตารางกิโลเมตร

  •  

    หลังจากทดลองมาหลายรูปแบบหลายวิธีการเราจึงพบผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่ปลอดภัยกับครอบครัวซึ่งมีทั้งเด็กและคนชรา มีทั้งแชมพู น้ำยาล้างจาน และน้ำยาซักผ้า

    After experimenting with various formats and methods, we have identified a safe cleaning product suitable for families, catering to both children and older adults. The product range includes shampoo, dishwashing liquid, and laundry detergent.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • การสำรวจข้อมูลภาคสนามโดยใช้แผนที่เพื่อปรับปรุงข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จำเป็นต้องพิจารณากำหนดชนิดของคุณลักษณะข้อมูล

    Improving map data in geographic information systems with field data surveys using maps. We need consideration to determine the type of data feature.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • จัดเก็บข้อมูลภาคสนามด้วยแผนที่เพื่อจัดทำและนำเสนอข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จำเป็นต้องพิจารณากำหนดชนิดของคุณลักษณะข้อมูล (Feature Type)

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • เมื่อผู้ใช้แผนที่กำหนดจุดยืนบนแผนที่แล้วต้องการเห็นภูมิประเทศข้างหน้าในแนวขวางเพื่อต้องการรู้ความสูงต่ำของภูมิประเทศ เห็นการบดบังสายตา เห็นความลาดชัน เนินหุบเขา และร่องน้ำในลักษณะของภาพหน้าตัด ซึ่งโปรแกรมด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ชุด 3 D สามารถทำได้ง่าย รวดเร็ว หากแต่เราไม่สามารถหาโปรแกรมและข้อมูลที่อยู่ในคอมพิวเตอร์ได้ตลอดเวลา

     

    อ่านเพิ่มเติม...
  • อัตราส่วนพึ่งพิงทางอายุที่สูงขึ้นทุกปีและเกือบทุกจังหวัดเกิดขึ้นจากการเพิ่มขึ้นของประชากรวัยสูงอายุเป็นหลัก ภาระของประชากรวัยแรงงานที่ต้องดูแลวัยพึ่งพิงคงมากจะขึ้น

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ด้วยระบบ GIS สำหรับเมืองขนาดใหญ่ เนื้อหาการบรรยายจะเกี่ยวกับหลักการวิเคราะห์เบื้องต้น หลักการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ แนวคิดและเทคนิคการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ด้วยระบบ GIS

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • เมื่อมีเป้าหมายการนำข้อมูลในระบบ GIS ไปใช้ประโยชน์แล้ว การออกแบบฐานข้อมูล ทั้งในส่วนที่เป็น Graphic และ Attribute จำเป็นต้องเข้าใจคุณสมบัติของพื้นที่ ซึ่งสามารถเรียนรู้และศึกษาจากแนวคิดของนักภูมิศาสตร์

    อ่านเพิ่มเติม...
  •   

    สิ่งที่ปรากฏข้างหน้า...เขาหัวโล้นที่ปรากฏเด่นชัด...ป่าต้นน้ำหายไปไหนเป็นคำถามที่ผุดขึ้นในสมอง

    The prominent feature ahead is a mountain with very few remaining trees. Where has the vanished watershed forest gone?

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    เมื่อนำเอาข้อมูลจำนวนประชากรและพื้นที่มามองในมุมของความหนาแน่นและการกระจายตัวของประชากรในจังหวัดเชียงใหม่

     

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ผลกระทบจากพายุฤดูร้อนที่ควรศึกษาและจัดการ

    อ่านเพิ่มเติม...

ผู้เยี่ยมชม GEO2GIS.com

วันนี้4
เมื่อวานนี้524
สัปดาห์นี้1984
เดือนนี้7428
ทั้งหมด1193637
สมาชิก log in ขณะนี้ 0
Online ขณะนี้ 3

JSN Epic is designed by JoomlaShine.com